กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล) ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5169-2-04 เลขที่ข้อตกลง 7/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5169-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก และเยาวชน เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญและมีคุณค่าต่อประเทศชาติเป็นอย่างยิ่ง เด็ก และเยาวชนในปัจจุบันมีจำนวนเกือบครึ่งหนึ่งของจำนวนพลเมืองทั้งประเทศ บุคคลเหล่านี้จำเป็นจะต้องได้รับการพัฒนาให้พร้อมด้วยพลังกาย พลังความคิด สติปัญญา พร้อมที่จะเรียนรู้ และเติบโตขึ้นมารับภาระในการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ตลอดจนธำรงและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมของชาติให้เจริญก้าวสืบไป กองการศึกษาเทศบาลตำบลทุ่งลาน เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็ก และเยาวชน โดยเฉพาะในช่วงปิดภาคเรียนหรือช่วงวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ต่าง ๆโดยการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนเหล่านั้น ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในช่วงวันหยุดเรียนหรือช่วงวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ต่าง ๆ ด้วยการฝึกทักษะ เสริมสร้างประสบการณ์พัฒนาศักยภาพและความสามารถในด้านกีฬาฟุตบอลซึ่งจะทำให้เด็ก และเยาวชนเหล่านั้นมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถประกอบภารกิจต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดการพนัน หรืออบายมุขทั้งปวงและเป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลในการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนรักการเล่นกีฬาและนันทนาการจนถือเป็นวิถีชีวิต กองการศึกษาเทศบาลตำบลทุ่งลานเล็งเห็นและให้ความสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนกีฬาจารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นการพัฒนาการกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อสุขภาพเสริมสร้างสุขภาพและและสวัสดิการของประชาชนเพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในช่วงวันหยุดเรียน หรือช่วงวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ต่าง ๆด้วยการฝึกทักษะ เสริมสร้างประสบการณ์พัฒนาศักยภาพและความสามารถในด้านกีฬาฟุตบอลอีกทั้งเป็นการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองในการดูแลบุตรหลานในช่วงปิดภาคเรียน หรือ ช่วงวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ต่าง ๆนับเป็นกิจกรรมเสริมของเด็กและเยาวชนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งกองการศึกษาเทศบาลตำบลทุ่งลานจึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)ประจำปี2563ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อให้เด็ก และเยาวชน ได้ตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
  3. เพื่อปลูกให้เด็ก และเยาวชน เห็นคุณค่าของการเล่นกีฬา และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  4. เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน มีทักษะ เพิ่มความสามารถ มีประสบการณ์ และพัฒนาการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า
  2. ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ตรวจประเมินสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการเล่นกีฬาไม่ไปมั่วสุมเกี่ยวข้องกับยาเสพติดการพนันหรืออบายมุขทั้งปวง 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะความสามารถประสบการณ์ในการเล่นกีฬาฟุตบอล 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาขีดความสามารถในด้านกีฬาฟุตบอลมีความรู้ความเข้าใจกีฬาฟุตบอลได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า

วันที่ 18 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความพร้อมสำหรับกิจกรรม

 

0 0

2. ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)

วันที่ 23 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่แข็งแรง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
5.00 10.00

 

2 เพื่อให้เด็ก และเยาวชน ได้ตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
100.00 60.00

 

3 เพื่อปลูกให้เด็ก และเยาวชน เห็นคุณค่าของการเล่นกีฬา และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
100.00 80.00

 

4 เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน มีทักษะ เพิ่มความสามารถ มีประสบการณ์ และพัฒนาการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะที่ถูกต้องในการเล่นกีฬาฟุตบอล ไม่มีการบาดเจ็บที่รุนแรง
100.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อให้เด็ก และเยาวชน ได้ตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น  และคัดกรองภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อปลูกให้เด็ก และเยาวชน เห็นคุณค่าของการเล่นกีฬา  และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (4) เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน มีทักษะ เพิ่มความสามารถ  มีประสบการณ์  และพัฒนาการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนด้วยการออกกำลังกาย (กีฬาฟุตบอล) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5169-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด