กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีความรู้และทักษะใน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคได้ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อเสริมพลังให้ชุมชนมีศักยภาพในการร่วมกันจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) เข้าร่วมกิจกรรมการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้และทักษะการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80 2.อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 10 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ ระดับความดันโลหิต ปกติร้อยละ50 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากประชากรกลุ่มเสี่ยง ≤2.95 5.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากประชากรกลุ่มเสี่ยง ≤1.25
3.00