กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน 1.1ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ ๑00
1.2ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 88.60
1.3 ผลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีผลสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 100 1.4 อัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 2.94 1.5 อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 92.59 โครงการไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ในเรื่องอัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ 1.95 ซึ่งผล การดำเนินโครงการได้ร้อยละ 2.94 เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มาจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงของปีก่อน ซึ่งมีการติดตามมาพบแพทย์แต่ผู้ป่วยไม่ได้มารับการรักษา

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
0.00 88.60

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : - อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า ร้อยละ 1.95 - อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
0.00 2.95

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการล่าช้า ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ผลดี ต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการและต้องใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เนื้อหาของความรู้เรื่องอาหารเป็นเนื้อหาที่ยาก
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องมีการอบรมฟื้นฟูความรู้อย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh