โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกานดา สินรักษา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7252-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7252-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ : Aged Society ซึ่งส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมโดยรวม ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บเรื้อรังออกไปและในผู้สูงอายุ ที่เจ็บป่วยให้หายทุเลาสามารถอยู่กับโรคได้ ทุเลาการเกิดความพิการหรือทุพพลภาพ ยืดเวลาการสูญเสียออกไป
จากข้อมูลจำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ ๑๔.๕ ล้านคน หรือร้อยละ ๒๐ ในปี พ.ศ.๒๕๖๘ และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และอายุยิ่งสูงขึ้นยิ่งเจ็บ โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุสะเดาเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุสะเดา เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง และเพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมได้พบปะแลกเปลี่ยนและร่วมกันทำกิจกรรมที่ก่อเกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ทำให้ผู้สูงอายุเกิดทักษะในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ลดความเหงา ความโดดเดี่ยว อ้างว้าง เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์รู้สึกตนเองมีคุณค่ามีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนส่งผลให้ผู้สูงอายุอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
- 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆของชมรมผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองได้
- ผู้สูงอายุภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อให้ผู้สูงอายุสมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสภาพจิตใจ ร่างกาย และสังคมที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง (2) 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7252-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกานดา สินรักษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกานดา สินรักษา
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7252-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7252-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ : Aged Society ซึ่งส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมโดยรวม ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บเรื้อรังออกไปและในผู้สูงอายุ ที่เจ็บป่วยให้หายทุเลาสามารถอยู่กับโรคได้ ทุเลาการเกิดความพิการหรือทุพพลภาพ ยืดเวลาการสูญเสียออกไป
จากข้อมูลจำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ ๑๔.๕ ล้านคน หรือร้อยละ ๒๐ ในปี พ.ศ.๒๕๖๘ และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และอายุยิ่งสูงขึ้นยิ่งเจ็บ โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุสะเดาเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุสะเดา เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง และเพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมได้พบปะแลกเปลี่ยนและร่วมกันทำกิจกรรมที่ก่อเกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ทำให้ผู้สูงอายุเกิดทักษะในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ลดความเหงา ความโดดเดี่ยว อ้างว้าง เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์รู้สึกตนเองมีคุณค่ามีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนส่งผลให้ผู้สูงอายุอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
- 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆของชมรมผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองได้
- ผู้สูงอายุภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อให้ผู้สูงอายุสมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสภาพจิตใจ ร่างกาย และสังคมที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ สมาชิกชมรมมีกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง (2) 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมกันสืบสานงานบุญ ภูมิปัญญาและประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นก่อเกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสะเดา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7252-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกานดา สินรักษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......