กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายจิรยุทธ์ ศรีชุม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L2584-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L2584-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม จึงมีความจำเป็นที่จะพัฒนานักสุขภาพครอบครัวหมอ เพื่อเป็น อสม. และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (นสค) ร่วมกันพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้านทุกครัวเรือน ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูล รายครัวเรือน รวมเป็น Community Folder ของหมู่บ้านให้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้ โดยสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด ด้วยกระบวนการคืนข้อมูลชุมชนตลอดจนร่วมสรุป วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนแก้ไขปัญหาโดยสร้างให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทุกกลุ่มองค์กร ที่มีในหมู่บ้านชุมชน โดยคาดหวังว่าระบบสุขภาพชุมชนจะมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือนมี "หมอประจำครอบครัว"
  2. 2. เพื่อพัฒนา นสค ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นและ อสม. "หมอประจำครอบครัว" อย่างมีคุณภาพ
  3. 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
  4. 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ สามารถดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้อย่างเหมาะสม และ ทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการดำเนินการจัดโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว ในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งเจ้าหน้าที่  อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้อง ทำให้การดำเนินงานตามโตรงการเป็นไปอย่างดี ตั้งแต่การประชุมชี้แจงโครงการ การอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องการเยี่ยมบ้านโดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรทั้งจาก รพ.ควนโดน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการดำเนินงานฝึกปฏิบัติการเยี่ยมบ้านถึงแม้จะมีอุปสรรคจากสภาพภูมิอากาศบ้างเล็กน้อย แต่ก็สามารถดำเนินการไปได้ด้วยดี ทำให้ได้ข้อมูลกลุ่มวัยของประชากรในเขตับผิดชอบที่สามารถแบ่งลักษณะของการดูแลตามกลุ่มวัย อีกทั้งได้ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้นักสุขภาพครอบครัวที่เป็นตัวเจ้าหน้าที่ อสม.มีข้อมูลในการดูแลและแนะนำแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบของตนเอง ให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้อย่างเหมาะสม และกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    รายละเอียดงบประมาณจากงบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว จำนวนเงิน  28,810 บาท มีรายละเอียดดังนี้
    1. ประชุมชี้แจงโครงการ อสม.และเจ้าหน้าที่ๆเกี่ยวข้อง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 44 คน เป็นเงิน  1,100 บาท 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการ อสม. เชี่ยวชาญการเยี่ยมบ้าน - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 38 คน   เป็นเงิน  3,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 4 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 38 คน เป็นเงิน  3,800 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร ช.ม.ละ 300 บาท จำนวน 9 ช.ม. จำนวน 3 คน เป็นเงิน  8,100 บาท 3. ฝึกปฏิบัติการเยี่ยมบ้าน - ค่าตอบแทนเหมาจ่ายการเดินทาง จำนวน38คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน  2,660 บาท - ค่าตอบแทนการสำรวจและบันทึกข้อมูล  435 หลังๆละ 10 บาท เป็นเงิน  4,350 บาท 4. จัดเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 50 คน   เป็นเงิน  2,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน  2,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  28,810 บาท *** หมายเหตุ ทุกรายการ/กิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือนมี "หมอประจำครอบครัว"
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อพัฒนา นสค ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นและ อสม. "หมอประจำครอบครัว" อย่างมีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือนมี "หมอประจำครอบครัว" (2) 2. เพื่อพัฒนา นสค ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นและ อสม. "หมอประจำครอบครัว" อย่างมีคุณภาพ (3) 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ (4) 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L2584-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายจิรยุทธ์ ศรีชุม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด