โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2482-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2482-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาปริมาณขยะของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านโคกมือบาซึ่งมีทั้งหมด 2 แห่ง ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากนักเรียนไม่สามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธีด้วยหลัก 3RS ยังมีพฤติกรรมการทิ้งขยะโดยไม่ผ่านคัดแยกก่อน ขยะบ้างประเภทที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ถูกทิ้งปะปนกับขยะทั่วไป บรรยากาศสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนไม่สวยงาม ไม่น่าอยู่ ประกอบการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม เช่น การเผา ซึ่งส่งผลให้ เกิดมลพิษทางอากาศได้ โดยส่งผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน เป็นผลมาจากนักเรียนขาดความรู้เกี่ยวกับการการคัดแยกขยะและการจัดการขยะแต่ละประเภทที่ไม่ถูกต้อง การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ยังมีน้อยมาก เพราะหลายคนพอได้ยินคำว่า “ขยะ” ก็ไม่สนใจ ละเลย ไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้งหรือประดิษฐ์เป็นชิ้นงานที่มีมูลค่า ลดปัญหาขยะ สร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้ดีได้และส่งผลให้สุขภาพของทุกคนในโรงเรียนดี นอกจากนี้ รพ.สต.บ้านโคกมือบา มุ่งเน้นการอนุรักษ์ พัฒนาสิ่งแวดล้อมในรงเรียน เป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้นักเรียนได้รู้คุณค่าของขยะ ฝึกความประหยัดในการทำงานแบบมีส่วนร่วม การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ฝีกความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างความตระหนักในการดำรงชีวิตอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข จากการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอนามัยของ รพ.สต.บ้านโคกมือบา พบว่าขยะในโรงเรียนเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นปัญหาต่อสภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพนักเรียน ดังนั้น เพื่อเป็นการลดปัญหาที่เกิดขึ้น รพ.สต.บ้านโคกมือบา จึง จัดทำโครงการ เยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
- เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะต่างๆประเภทต่างๆ
- นักเรียนสามารถคัดแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง
- นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ
วันที่ 27 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผู้รับผิดชอบงานวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จากหน่วยงานต่างๆในพื้นที่รับผิดชอบ
นำเสนอปัญหาดังกล่าวต่อหน่วยงานที่มีปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (โรงเรียนทั้งสองแห่งในเขตรับผิดชอบ)
นำเสนอปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.โฆษิต
จัดทำโครงการและแผนปฏิบัติการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.โฆษิต
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานประสานผู้อำนวยของโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
จัดกิจกรรมให้ความรู้ แก่นักเรียน เรื่องขยะมูลฝอย ประเภทของขยะ การจัดการขยะแต่ละประเภท
ประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะต่างๆประเภทต่างๆ
นักเรียนสามารถคัดแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง
นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถคัดแยกขยะตัวอย่างได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย
80.00
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทิ้งขยะได้
0.00
3
เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ
ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค/กองขยะในโรงเรียน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย (3) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2482-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2482-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2482-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาปริมาณขยะของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านโคกมือบาซึ่งมีทั้งหมด 2 แห่ง ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากนักเรียนไม่สามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธีด้วยหลัก 3RS ยังมีพฤติกรรมการทิ้งขยะโดยไม่ผ่านคัดแยกก่อน ขยะบ้างประเภทที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ถูกทิ้งปะปนกับขยะทั่วไป บรรยากาศสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนไม่สวยงาม ไม่น่าอยู่ ประกอบการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม เช่น การเผา ซึ่งส่งผลให้ เกิดมลพิษทางอากาศได้ โดยส่งผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน เป็นผลมาจากนักเรียนขาดความรู้เกี่ยวกับการการคัดแยกขยะและการจัดการขยะแต่ละประเภทที่ไม่ถูกต้อง การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ยังมีน้อยมาก เพราะหลายคนพอได้ยินคำว่า “ขยะ” ก็ไม่สนใจ ละเลย ไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้งหรือประดิษฐ์เป็นชิ้นงานที่มีมูลค่า ลดปัญหาขยะ สร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้ดีได้และส่งผลให้สุขภาพของทุกคนในโรงเรียนดี นอกจากนี้ รพ.สต.บ้านโคกมือบา มุ่งเน้นการอนุรักษ์ พัฒนาสิ่งแวดล้อมในรงเรียน เป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้นักเรียนได้รู้คุณค่าของขยะ ฝึกความประหยัดในการทำงานแบบมีส่วนร่วม การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ฝีกความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างความตระหนักในการดำรงชีวิตอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข จากการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอนามัยของ รพ.สต.บ้านโคกมือบา พบว่าขยะในโรงเรียนเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นปัญหาต่อสภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพนักเรียน ดังนั้น เพื่อเป็นการลดปัญหาที่เกิดขึ้น รพ.สต.บ้านโคกมือบา จึง จัดทำโครงการ เยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
- เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะต่างๆประเภทต่างๆ
- นักเรียนสามารถคัดแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง
- นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำผู้รับผิดชอบงานวิเคราะห์ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จากหน่วยงานต่างๆในพื้นที่รับผิดชอบ
นำเสนอปัญหาดังกล่าวต่อหน่วยงานที่มีปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (โรงเรียนทั้งสองแห่งในเขตรับผิดชอบ)
นำเสนอปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.โฆษิต
จัดทำโครงการและแผนปฏิบัติการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.โฆษิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะต่างๆประเภทต่างๆ นักเรียนสามารถคัดแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถคัดแยกขยะตัวอย่างได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทิ้งขยะได้ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค/กองขยะในโรงเรียน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการทิ้งขยะและการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารณและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย (3) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคและลดภาวะเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีสาเหตุจากขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเรื่องขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนไทย ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2482-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......