กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560 ”

ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเสาวนีย์ ปาวัล

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L6957-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6957-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) สืบเนื่องจากหลายทศวรรษที่ผ่านมา สภาวะทางสังคมการดำเนินชีวิตของมนุษย์และสภาวะแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไป จนเกิดโรคติดต่อที่เป็นโรคประจำถิ่น หรือ โรคติดต่ออุบัติใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงโรคติดต่ออุบัติซ้ำ เชื้อก่อโรคที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เช่น โรคติดต่อที่ป้องกันโรคได้ด้วยวัคซีน โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ โรคติดต่อที่ก่อให้เกิดอันตรายในมนุษย์มีสาเหตุมาจากสัตว์หรือสัตว์ป่า และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองที่และบุคคลในครอบครัวที่เหมาะสม จากสถานการณ์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา พบว่าตำบลบาเระใต้ มีโอกาสพบผู้ป่วยอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ จากสถิติข้อมูลการระบาด พบว่า ปี ๒๕๕9 พบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H๑N๑จำนวน 43 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายต่อแสนประชากร 638.65 และพบผู้ป่วยโรคหัด จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายต่อแสนประชากร 178.23 พบผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 29.7 และโรคไข้เลือดออก จำนวน 19 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 282.19 ซึ่งเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (อัตราป่วยต่อแสนประชากรไม่เกิน ๕๐) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าตำบลบาเระใต้ ยังพบผู้ป่วยอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำเกิดขึ้นทุกปี ดังนั้นทีม SRRT ตำบลบาเระใต้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมรับการระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดในพื้นที่ได้ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือเระ จึงได้จัดทำ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี ๒๕60 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทีม SRRT ระดับตำบล ให้ควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  3. เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
  4. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม., ผู้นำชุมชน และ กสค. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคภัยไข้เจ็บและการดูแลสุขภาพ ที่ใหม่ ๆ และทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
    2. คนในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองครอบครัว และคนชุมชน ได้ ในระดับหนึ่ง
    3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • รพ.สต.บ้านบือเระ ได้ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่ออกพ่นหมอกควันและทำงานแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่ก่อนมีการระบาดในชุมชนที่มีพื้นที่เสี่ยง
    • สถานการณ์ระบาดของ รพ.สต.บ้านบือเระ ตั้งแต่เดือนมกราคม - 20 กรกฎาคม 2560 มีผู้ป่วย จำนวน 12 ราย ได้รับการวินิจฉัยเป็นไข้เลือดออก จำนวน 8 ราย และเป็นโรคมือเท้าปาก จำนวน 5 ราย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทีม SRRT ระดับตำบล ให้ควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทีม SRRT ระดับตำบล ให้ควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (3) เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน (4) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L6957-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเสาวนีย์ ปาวัล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด