โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก
2. เพื่อสร้างความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ
3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย
5. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ
เด็ก เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่ต่อเนื่อง อาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่พ่อแม่จะต้องใส่ใจเพราะการที่เด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ ร่างกายก็จะได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและจำเป็นสำหรับการบำรุงร่างกายและสมองต่อไปเด็กวัยนี้มีความต้องการอาหารเหมือนผู้ใหญ่แล้ว คือสามารถทานอาหารได้ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่แต่จะมีปริมาณมากน้อยต่างกันไปตามความต้องการพลังงานและสารอาหาร 5 หมู่ มีความสำคัญสำหรับเด็กวัยนี้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถสร้างความรู้ให้แก่ผู้ปกครอง ในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และคุณค่า
- สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้เด็กเกิดกระบวนการความคิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
- สามารถให้เด็ก ๆ เลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสามารถควบคุมหลักเกณฑ์ของน้ำหนักของตัวเองได้ ให้เหมาะสมอยู่ในวัยของตน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1)ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก
2)มีความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ
3)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภขนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก
4)เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย
5)ลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก
2. เพื่อสร้างความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ
3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย
5. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก
2. เพื่อสร้างความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ
3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย
5. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เด็ก เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่ต่อเนื่อง อาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่พ่อแม่จะต้องใส่ใจเพราะการที่เด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ ร่างกายก็จะได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและจำเป็นสำหรับการบำรุงร่างกายและสมองต่อไปเด็กวัยนี้มีความต้องการอาหารเหมือนผู้ใหญ่แล้ว คือสามารถทานอาหารได้ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่แต่จะมีปริมาณมากน้อยต่างกันไปตามความต้องการพลังงานและสารอาหาร 5 หมู่ มีความสำคัญสำหรับเด็กวัยนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถสร้างความรู้ให้แก่ผู้ปกครอง ในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และคุณค่า
- สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้เด็กเกิดกระบวนการความคิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
- สามารถให้เด็ก ๆ เลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสามารถควบคุมหลักเกณฑ์ของน้ำหนักของตัวเองได้ ให้เหมาะสมอยู่ในวัยของตน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1)ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก 2)มีความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ 3)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภขนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก 4)เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย 5)ลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับเด็ก
2. เพื่อสร้างความตระหนักให้ครู ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กให้มีภาวะด้านโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยและเกณฑ์ช่วงอายุ
3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการบริหารจัดการอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณค่าอาหารทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยเด็ก
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนรู้จักเลือกและบริโภคอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์เหมาะสมตามวัย
5. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......