โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3366-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0816.4/ว 2419ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2560 ซักซ้อมแนวทางการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยรวมถึงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยขอให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กด้วย นั้น
กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้วันเสาร์แรกของเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นวันรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้ำและได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างกระแสให้ประชาชนรับรู้ปัญหาและแนวทางป้องกันการจมน้ำในเด็ก ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำมากถึงเกือบ 1,400 คน เฉลี่ยวันละ 4 คน ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมรณรงค์ในแต่ละปีจะมีจุดเน้นการจัดกิจกรรมรณรงค์ที่แตกต่างกัน
จากสื่อสาธารณะที่เผยแพร่ออกมาทางทีวีในวงกว้าง สะท้อนให้เห็นว่า ทั้งตัวสื่อและพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ยังมีความเข้าใจผิดคิดว่า การทำกิจกรรมเพียงระยะเวลาสั้นๆ เช่น การชงนม การเข้าห้องน้ำและปล่อยให้เด็กอยู่ตามลำพัง ไม่น่าจะทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ ซึ่งในความเป็นจริง การปล่อยเด็กไว้เพียงลำพัง เด็กก็สามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ เนื่องจากเด็กเล็กสามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ แม้ระดับน้ำสูงเพียง 1 - 2 นิ้ว อย่างที่เห็นเป็นข่าวอยู่บ่อยครั้งทั้งการจมน้ำในถังน้ำ กะละมังหรือแอ่งน้ำเล็กๆ ซึ่งมีน้ำอยู่เพียงเล็กน้อย ดังนั้นจึงควรมีการสื่อสารให้ประชาชนทราบว่า ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ตามลำพังแม้เพียงเสี้ยววินาที และแหล่งน้ำที่มีน้ำเพียงเล็กน้อยก็สามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ ซึ่งในกลุ่มเด็กเล็ก อายุต่ำกว่า 5 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็น และเข้าถึงคว้าถึง รวมทั้งการใส่เสื้อชูชีพขณะที่เดินทางทางน้ำ หรือทำกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น ภายใต้กรอบ เด็ก (Kid) = ความสนุก (funny) + การป้องกัน (protect) = ความปลอดภัย (Safety)
ปัจจุบันในช่วงปิดภาคเรียนจะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุดซึ่งเด็กจะชอบไปเล่นน้ำตามแหล่งน้ำต่างๆและไม่รู้จักการช่วยเหลือคนจมน้ำที่ถูกต้องซึ่งเมื่อเด็ก ครู หรือผู้ปกครองได้รับความรู้ที่ถูกต้องและเมื่อประสบเหตุการณ์มีคนจมน้ำจะได้นำความรู้ที่ได้รับ มาใช้ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธีคือ ใช้หลักการตะโกนโยนยื่น การตะโกนเรียกให้คนมาช่วย,โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อช่วยคนตกน้ำเกาะจับพยุงตัวเช่น เชือกถังแกลลอน พลาสติกเปล่า ขวดน้ำพลาสติกเปล่าหรือวัสดุที่ลอยน้ำได้โดยยื่นครั้งละหลายๆ ชิ้น, ยื่นอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับเช่นไม้เสื้อผ้าขาวม้า ให้คนตกน้ำจับและดึงขึ้นมาจากน้ำซึ่งเน้นให้เด็ก ครูและผู้ปกครองรู้วิธีช่วยเหลือคนตกน้ำที่ถูกต้องโดยไม่ต้องกระโดดลงไปช่วยเพราะอาจทำให้จมน้ำไปทั้งคู่
ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่6) พ.ศ.2542องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่มาตรา 67ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ได้รับการถ่ายโอนมาจากสำนักงานพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์ต้นแบบและได้รับการคัดเลือกเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทิดไท้องค์ราชัน มีศูนย์สามวัยซึ่งคิดสรรสร้างเยาว์วัย ครอบครัวเสริมกายใจและผู้สูงวัยสานใยรัก กิจกรรมหลักในการคิดด้านพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ให้แก่เด็ก แต่ละกิจกรรมจะมีสิ่งที่น่าสนใจอาทินิทรรศการการสาธิตการแสดงโดยเน้นรูปแบบที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน อีกทั้งมีการสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้ปกครองและชุมชนซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งกิจกรรมดังกล่าวมีการส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการด้าน ร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญามีการพัฒนาอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพประสิทธิผลเตรียมความพร้อมสำหรับการเข้าเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและจะต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องรวมทั้งให้มีความครอบคลุมด้านการจัดเตรียมการสอนแบบบูรณการตามนโยบายของรัฐให้เด็กกล้าคิดกล้าทำและกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่จึงได้จัดทำโครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อเป็นการลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กจากการจมน้ำได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กได้มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาเด็กจมน้ำและมีมาตรการในการป้องกัน
- ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็ก มีความรู้และทักษะเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล
- ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีแนวคิดทัศนคติและวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ
- อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-มีการสื่อสารให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ได้รับรู้ว่า ต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การหันไปทำกิจกรรมต่างๆเพียงเสี้ยววินาที และปล่อยเด็กตามลำพัง ก็อาจทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และการสวมเสื้อชูชีพ ขณะที่เดินทางทางน้ำหรือกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น
-มีการสื่อสารให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก รับรู้ว่ากลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่คว้าถึง และหากเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-4 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นและเข้าถึงทันเวลา
- ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็ก มีความรู้และทักษะเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล
- ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3366-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0816.4/ว 2419ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2560 ซักซ้อมแนวทางการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยรวมถึงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยขอให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กด้วย นั้น
กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้วันเสาร์แรกของเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นวันรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้ำและได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างกระแสให้ประชาชนรับรู้ปัญหาและแนวทางป้องกันการจมน้ำในเด็ก ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำมากถึงเกือบ 1,400 คน เฉลี่ยวันละ 4 คน ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมรณรงค์ในแต่ละปีจะมีจุดเน้นการจัดกิจกรรมรณรงค์ที่แตกต่างกัน
จากสื่อสาธารณะที่เผยแพร่ออกมาทางทีวีในวงกว้าง สะท้อนให้เห็นว่า ทั้งตัวสื่อและพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ยังมีความเข้าใจผิดคิดว่า การทำกิจกรรมเพียงระยะเวลาสั้นๆ เช่น การชงนม การเข้าห้องน้ำและปล่อยให้เด็กอยู่ตามลำพัง ไม่น่าจะทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ ซึ่งในความเป็นจริง การปล่อยเด็กไว้เพียงลำพัง เด็กก็สามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ เนื่องจากเด็กเล็กสามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ แม้ระดับน้ำสูงเพียง 1 - 2 นิ้ว อย่างที่เห็นเป็นข่าวอยู่บ่อยครั้งทั้งการจมน้ำในถังน้ำ กะละมังหรือแอ่งน้ำเล็กๆ ซึ่งมีน้ำอยู่เพียงเล็กน้อย ดังนั้นจึงควรมีการสื่อสารให้ประชาชนทราบว่า ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ตามลำพังแม้เพียงเสี้ยววินาที และแหล่งน้ำที่มีน้ำเพียงเล็กน้อยก็สามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ ซึ่งในกลุ่มเด็กเล็ก อายุต่ำกว่า 5 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็น และเข้าถึงคว้าถึง รวมทั้งการใส่เสื้อชูชีพขณะที่เดินทางทางน้ำ หรือทำกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น ภายใต้กรอบ เด็ก (Kid) = ความสนุก (funny) + การป้องกัน (protect) = ความปลอดภัย (Safety)
ปัจจุบันในช่วงปิดภาคเรียนจะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุดซึ่งเด็กจะชอบไปเล่นน้ำตามแหล่งน้ำต่างๆและไม่รู้จักการช่วยเหลือคนจมน้ำที่ถูกต้องซึ่งเมื่อเด็ก ครู หรือผู้ปกครองได้รับความรู้ที่ถูกต้องและเมื่อประสบเหตุการณ์มีคนจมน้ำจะได้นำความรู้ที่ได้รับ มาใช้ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธีคือ ใช้หลักการตะโกนโยนยื่น การตะโกนเรียกให้คนมาช่วย,โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อช่วยคนตกน้ำเกาะจับพยุงตัวเช่น เชือกถังแกลลอน พลาสติกเปล่า ขวดน้ำพลาสติกเปล่าหรือวัสดุที่ลอยน้ำได้โดยยื่นครั้งละหลายๆ ชิ้น, ยื่นอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับเช่นไม้เสื้อผ้าขาวม้า ให้คนตกน้ำจับและดึงขึ้นมาจากน้ำซึ่งเน้นให้เด็ก ครูและผู้ปกครองรู้วิธีช่วยเหลือคนตกน้ำที่ถูกต้องโดยไม่ต้องกระโดดลงไปช่วยเพราะอาจทำให้จมน้ำไปทั้งคู่
ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่6) พ.ศ.2542องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่มาตรา 67ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ได้รับการถ่ายโอนมาจากสำนักงานพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์ต้นแบบและได้รับการคัดเลือกเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทิดไท้องค์ราชัน มีศูนย์สามวัยซึ่งคิดสรรสร้างเยาว์วัย ครอบครัวเสริมกายใจและผู้สูงวัยสานใยรัก กิจกรรมหลักในการคิดด้านพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ให้แก่เด็ก แต่ละกิจกรรมจะมีสิ่งที่น่าสนใจอาทินิทรรศการการสาธิตการแสดงโดยเน้นรูปแบบที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน อีกทั้งมีการสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้ปกครองและชุมชนซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งกิจกรรมดังกล่าวมีการส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการด้าน ร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญามีการพัฒนาอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพประสิทธิผลเตรียมความพร้อมสำหรับการเข้าเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและจะต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องรวมทั้งให้มีความครอบคลุมด้านการจัดเตรียมการสอนแบบบูรณการตามนโยบายของรัฐให้เด็กกล้าคิดกล้าทำและกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่จึงได้จัดทำโครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อเป็นการลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กจากการจมน้ำได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กได้มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาเด็กจมน้ำและมีมาตรการในการป้องกัน
- ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็ก มีความรู้และทักษะเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล
- ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีแนวคิดทัศนคติและวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ
- อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-มีการสื่อสารให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ได้รับรู้ว่า ต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การหันไปทำกิจกรรมต่างๆเพียงเสี้ยววินาที และปล่อยเด็กตามลำพัง ก็อาจทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และการสวมเสื้อชูชีพ ขณะที่เดินทางทางน้ำหรือกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น -มีการสื่อสารให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก รับรู้ว่ากลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่คว้าถึง และหากเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-4 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นและเข้าถึงทันเวลา - ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็ก มีความรู้และทักษะเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล - ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย ขุนพลช่วย ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาปู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......