กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอำนวย เซ่งเซี่ยง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 – L1500 -2-02 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63 – L1500 -2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อการแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อย ๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด
ซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลัง ๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมาก และแทบจะไม่รู้จักเลย ทั้ง ๆ ที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ ๆ ตัวเรานี้เอง
สมุนไพรและการแพทย์แผนไทยเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยเนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีการพึ่งพาตนเองด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่สมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุขบริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนปัจจุบัน เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือคนในครอบครัวจึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น หรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลาย ชั่วอายุ และปัจจุบันประเทศไทยได้มีการสนใจใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน บางครั้งมีผลข้างเคียงในบางโรคและมีขีดจำกัดในการรักษา เช่น โรคมะเร็ง ซึ่งต้องมีแนวทางการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลของกระแสโลกในเรื่องสมุนไพรและแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยให้คนไทยหันมาบริโภคสมุนไพรกันมากขึ้น โดยปัจจุบันมีการใช้สมุนไพรอย่างแพร่หลาย รวมถึงในโรงพยาบาลต่างๆมีการรักษาแพทย์ แผนไทยในการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรค ดังนั้น กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงตำบลบ้านควน จึงได้ทำ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีการใช้สมุนไพร เกิดการดูแลสุขภาพโดยใช้เป็นยารักษาโรคร่วมภูมิปัญญาท้องถิ่นลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และเกิดภูมิปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ต่อไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการใช้สมุนไพรไทย ในท้องถิ่น
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย จำนวน 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือนในการดูแลสุขภาพและกรรักษาโรคเบื้องต้น
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดให้แก่ชุมชนได้
  3. ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้คงอยู่สืบไป
  4. มีแปลงสาธิตสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพในชุมชน จำนวน 1 แห่ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการใช้สมุนไพรไทย ในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถทำแบบทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการใช้สมุนไพรไทย ในท้องถิ่น (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย จำนวน 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรไทยในท้องถิ่น จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 – L1500 -2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอำนวย เซ่งเซี่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด