โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปพิชญา ปัทมินทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563
ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การพัฒนางานสุขภาพในปัจจุบันและอนาคตมีรูปแบบสำคัญ คือ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ แก่ประชาชนโดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและประชาชนสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ โดยรัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนและมีระบบบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การบริการมีคุณภาพ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวกมีประสิทธิภาพ ตลอดจนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบริการ การส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญประการหนึ่งในแผนงานสร้างสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขนโยบายสร้างสุขภาพแห่งชาติมีประเด็นสำคัญที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคน มีคุณภาพชีวิตที่ดีดังนั้นอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯ โดยเฉพาะ ในเด็กแรกเกิด-72 เดือนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ
การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาในเด็กแรกเกิด-72 เดือนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง
จากรายงานการเฝ้าระวัง และติดตามภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนโดยการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก ปีงบประมาณ ๒๕๖2 เด็กทั้งหมด จำนวน 119 คน ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 116 คนคิดเป็นร้อยละ 97.47 พบอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 4.31 และเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 4.31 จะเห็นได้ว่าภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีความครอบคลุมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการและการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมึคุ้มกันโรคในเด็ก0-72เดือน
2.ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลบุตรหลาน
3.เด็ก 0-72เดือน มีน้ำหนักดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563
วันที่ 3 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม/วิธีดำเนินการ ขั้นเตรียม 1.คืนข้อมูลสถานะสุขภาพสู่ชุมชน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติในการดำเนินงาน 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 4.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการฯ ชั้นตอนการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ 1.ให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำ/ผู้ปครองเด็กอายุ 0-72 เดือนในเรื่องของโภชนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสุขภาพปากและฟัน 2.ติดตามประเมินการเจริญเติบโตของเด็กโดยการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง วัดรอบศรีษะ ทุก
3 เดือน 3. จ่ายนม / ยาถ่ายพยาธิ / วิตามิน / ยาเสริมธาตุเหล็ก ให้กับเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 4. ตรวจพัฒนาการและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการในรายที่ล่าช้า 5. ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้คำแนะนำที่ถูกต้อง 6. ติดตามการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐาน 7. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เด็กพัฒนาการล่าช้าและเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุทุก1เดือน กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และสาธิตอาหาร 1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์/อาสาสมัครสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน จำนวน 40 คน 2.ติดตาม/ประเมินหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการทุก 1 เดือน 3. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีความครอบคลุมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการและการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมึคุ้มกันโรคในเด็ก0-72เดือน 2.ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลบุตรหลาน 3.เด็ก 0-72เดือน มีน้ำหนักดีขึ้น
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด
๑. อัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-72เดือนร้อยละ90
๒. อัตราเด็ก 0-72 เดือนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนมากกว่าร้อยละ54
๓. อัตราเด็กอายุ 0 - 72เ ดือนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการ
1
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปพิชญา ปัทมินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปพิชญา ปัทมินทร์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล การพัฒนางานสุขภาพในปัจจุบันและอนาคตมีรูปแบบสำคัญ คือ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ แก่ประชาชนโดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและประชาชนสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ โดยรัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุนและมีระบบบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การบริการมีคุณภาพ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวกมีประสิทธิภาพ ตลอดจนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบริการ การส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญประการหนึ่งในแผนงานสร้างสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขนโยบายสร้างสุขภาพแห่งชาติมีประเด็นสำคัญที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคน มีคุณภาพชีวิตที่ดีดังนั้นอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯ โดยเฉพาะ ในเด็กแรกเกิด-72 เดือนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาในเด็กแรกเกิด-72 เดือนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง จากรายงานการเฝ้าระวัง และติดตามภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนโดยการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก ปีงบประมาณ ๒๕๖2 เด็กทั้งหมด จำนวน 119 คน ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 116 คนคิดเป็นร้อยละ 97.47 พบอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 4.31 และเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 4.31 จะเห็นได้ว่าภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีความครอบคลุมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการและการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมึคุ้มกันโรคในเด็ก0-72เดือน 2.ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลบุตรหลาน 3.เด็ก 0-72เดือน มีน้ำหนักดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563 |
||
วันที่ 3 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรม/วิธีดำเนินการ ขั้นเตรียม 1.คืนข้อมูลสถานะสุขภาพสู่ชุมชน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติในการดำเนินงาน 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 4.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการฯ ชั้นตอนการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ 1.ให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำ/ผู้ปครองเด็กอายุ 0-72 เดือนในเรื่องของโภชนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสุขภาพปากและฟัน 2.ติดตามประเมินการเจริญเติบโตของเด็กโดยการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง วัดรอบศรีษะ ทุก 3 เดือน 3. จ่ายนม / ยาถ่ายพยาธิ / วิตามิน / ยาเสริมธาตุเหล็ก ให้กับเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 4. ตรวจพัฒนาการและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการในรายที่ล่าช้า 5. ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้คำแนะนำที่ถูกต้อง 6. ติดตามการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐาน 7. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เด็กพัฒนาการล่าช้าและเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุทุก1เดือน กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และสาธิตอาหาร 1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์/อาสาสมัครสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน จำนวน 40 คน 2.ติดตาม/ประเมินหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการทุก 1 เดือน 3. รายงานผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีความครอบคลุมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการและการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมึคุ้มกันโรคในเด็ก0-72เดือน 2.ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลบุตรหลาน 3.เด็ก 0-72เดือน มีน้ำหนักดีขึ้น
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด ๑. อัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-72เดือนร้อยละ90 ๒. อัตราเด็ก 0-72 เดือนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนมากกว่าร้อยละ54 ๓. อัตราเด็กอายุ 0 - 72เ ดือนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการ 1 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ๒. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ๓.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปพิชญา ปัทมินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......