กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตนา สุขขี

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2563 ถึง 4 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1528-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2563 - 4 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายการป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวัน การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการดำรงชีวิต การเรียน การทำงาน แต่เนื่องจากสภาวการณ์ในปัจจุบันและการรับประทานอาหารที่เร่งรีบ ทำให้นักเรียนมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์และบางส่วนก็มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ส่งผลให้เป็นโรคอ้วน ไม่มีภูมิคุ้มกันทำให้มีโรคต่างๆตามมามากมาย ดังนั้นทุกคนจึงควรได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย รู้จักดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้เผยแพร่ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้ด้วย โรงเรียนบ้านควนตัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการให้ความรู้กับนักเรียนในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน เข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการ
  3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
  4. เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน
  5. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค
  6. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสัปดาห์ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนรายบุคคล(เดือนละครั้ง) -การตรวจสุขภาพ ความสะอาดร่างกาย มือ เล็บ เท้า ผม ฟัน -การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง -กิจกรรมการออกกำลังกาย -กิจกรรมประกวดฟันสวย -กิจกรรมรู้ไว้ใช่ว่า ทันข่าวทันเหตุการณ์(ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ โรคติด
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ 1.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 3.การดูแลช่องปากและการประกวดฟันสวย 4.โรคติดต่อ ไข้หวัด เชื้อไวรัสชนิดต่างๆ 5.สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านควนตังเป็นผู้ได้รับการพัฒนา มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย  มีพฤติกรรมที่ดีและปฏิบัติได้ถูกต้องในการดูแลสุขอนามัยของตนเองและส่วนรวม
  2. นักเรียนมีร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง มีสุขภาพสมบูรณ์ปราศจากโรคและมีภาวะโภชการที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ 1.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 3.การดูแลช่องปากและการประกวดฟันสวย 4.โรคติดต่อ ไข้หวัด เชื้อไวรัสชนิดต่างๆ 5.สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

12.30 – 12.40 น      พิธีเปิดการอบรม 12.40 – 12.50 น      กิจกรรมนันทนาการ ชี้แจงวัตถุประสงค์การอบรม 12.50 – 13.00 น      ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 13.00 – 15.00 น      -บรรยายให้ความรู้เรื่องทำให้”สุขภาพดี ชีวีมีสุข”รู้เท่าทัน เฝ้าระวัง การดูแลรักษา
                                -การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย
                                -การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ                                 -การดูแลช่องปากและการประกวดฟันสวย                                 -โรคติดต่อ ไข้หวัด เชื้อไวรัสชนิดต่างๆ                                 -การใช้ห้องน้ำอย่างถูกสุขลักษณะ                                 -แสดงความคิดเห็น ถาม ตอบปัญหา
                                -กิจกรรมกลุ่ม 11 กลุ่ม (สรุปความรู้)นำเสนอ
15.00-16.10 น.         - ฐานให้ความรู้และสาธิต การทำเครื่องดื่มจากพืชผักและทำน้ำสมุนไพร
                                  เพื่อสุขภาพ 16.10 -16.20 น.       -ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 16.20 -16.30 น.       พิธีปิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านควนตังเป็นผู้ได้รับการพัฒนา  มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย  มีพฤติกรรมที่ดีและปฏิบัติได้ถูกต้องในการดูแลสุขอนามัยของตนเองและส่วนรวม
  2. นักเรียนมีร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง มีสุขภาพสมบูรณ์ปราศจากโรคและมีภาวะโภชการที่ดี

 

110 0

2. กิจกรรมสัปดาห์ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนรายบุคคล(เดือนละครั้ง) -การตรวจสุขภาพ ความสะอาดร่างกาย มือ เล็บ เท้า ผม ฟัน -การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง -กิจกรรมการออกกำลังกาย -กิจกรรมประกวดฟันสวย -กิจกรรมรู้ไว้ใช่ว่า ทันข่าวทันเหตุการณ์(ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ โรคติด

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

12.30 – 12.40 น      พิธีเปิดการอบรม 12.40 – 12.50 น      -กิจกรรมนันทนาการ                                 -ชี้แจงวัตถุประสงค์การอบรม 12.50 – 13.00 น      -ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 13.00 – 15.00 น      -บรรยายให้ความรู้เรื่องทำให้”สุขภาพดี ชีวีมีสุข”รู้เท่าทัน เฝ้าระวัง การดูแลรักษา
                                -การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย
                                -การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ                                 -การดูแลช่องปากและการประกวดฟันสวย                                 -โรคติดต่อ ไข้หวัด เชื้อไวรัสชนิดต่างๆ                                 -การใช้ห้องน้ำอย่างถูกสุขลักษณะ                                 -แสดงความคิดเห็น ถาม ตอบปัญหา
                                -กิจกรรมกลุ่ม 11 กลุ่ม (สรุปความรู้)นำเสนอ
15.00-16.10 น. - ฐานให้ความรู้และสาธิต การทำเครื่องดื่มจากพืชผักและทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 16.10 -16.20 น. -ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 16.20 -16.30 น. พิธีปิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านควนตังเป็นผู้ได้รับการพัฒนา  มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย  มีพฤติกรรมที่ดีและปฏิบัติได้ถูกต้องในการดูแลสุขอนามัยของตนเองและส่วนรวม
  2. นักเรียนมีร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง มีสุขภาพสมบูรณ์ปราศจากโรคและมีภาวะโภชการที่ดี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ได้สรุปไว้ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นจนปิดโครงการ 2. วิทยากรให้ความรู้และจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการและวัยของนักเรียน 3. ร้อยละ 95 ของนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพอนามัย รู้จักดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองและสามารถนำความรู้ได้เผยแพร่ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้ด้วย และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม สรุปผลดังนี้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุโดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้นก่อนที่ผู้บาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งต่อไปยังโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ คือ ่ช่วยให้รอดชีวิต ช่วนให้รอดพ้นจากความพิการ ช่วยให้บรรเทาอาการเจ็บปวดทรมาน โรคที่พบบ่อยในเด็กและแนวทางป้องกันควบคุมโรค 1.โรค มือ เท้า ปาก 2.โรคหวัด 3.ตาแดง 4.อุจจาระร่วง 5.ตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบ 6.โรคไข้เลือดออก การป้องกันควบคุมโรคที่ได้ผลดีและคุ้มค่าที่สุด คือการป้องกันในระยะก่อนได้รับเชื้อ ได้แก่ 1.การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน 2.ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ 4.ได้รับการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล หลักการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ 1.คัดกรองและแยกเด็กป่วย ตรวจและบันทึกสุขภาพเด็กทุกคนทุกวัน แยกเด็กป่วย แยกของเล่นและของใช้ส่วนตัว 2.การทำความสะอาดและทำลายเชื้อ การทำความสะอาดเป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่ง่ายที่สุด เพราะสามารถช่วยป้องกันและลดการแพร่กระจายเชื้อ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้โรงเรียนปิดทำการเรียนการสอนช้ากว่าปกติ คือ เปิดทำการเรียนการสอน ในวันที่ 1กรกฎาคม 2563 เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งสอดคล้องกันนโยบายของรัฐบาลและสพฐ.อันส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานโครงการดังกล่าวข้างต้นไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) คลี่คลายลง โรงเรียนจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการดังกล่าวจนสำเร็จลุล่วง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน เข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียน มีภาวะโภชนาการสมส่วนร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียน มีสุขภาพฟันที่แข็งแรงร้อยละ 90
0.00

 

4 เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะร้อยละ 90
0.00

 

5 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรคร้อยละ 90
0.00

 

6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน เข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง (4) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน (5) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค (6) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสัปดาห์ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนรายบุคคล(เดือนละครั้ง) -การตรวจสุขภาพ ความสะอาดร่างกาย มือ เล็บ เท้า ผม ฟัน  -การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง -กิจกรรมการออกกำลังกาย  -กิจกรรมประกวดฟันสวย -กิจกรรมรู้ไว้ใช่ว่า ทันข่าวทันเหตุการณ์(ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ โรคติด (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ  1.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 3.การดูแลช่องปากและการประกวดฟันสวย 4.โรคติดต่อ ไข้หวัด เชื้อไวรัสชนิดต่างๆ 5.สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัตนา สุขขี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด