กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้าหวี


“ โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560 ”

ตำบลบ้าหวี อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าหวี

ชื่อโครงการ โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบ้าหวี อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1543-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้าหวี อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้าหวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้าหวี อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1543-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้าหวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็ก เป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานทีสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ และเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด ทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้ายนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าหวี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดทำ "โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ ให้มีคุณภาพ" โดยมีการบูรณาการร่วมกับการดูแลทั้งในสถานพยาบาล และนอกสถานพยาบาล โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมโดยทีมสหวิชาชีพ โดยใช้หลัก 3 อย่าง ในหารสร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพคือ 1.เข้าใจทีม สร้างทีม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มแม่อาสาเลือดใหม่จากองค์การบริหารส่วนตำบลบ้าหวี,การศึกษานอกระบบ ให้มีสมรรถนะที่จำเป็นต้องมีในการทำงาน 2.เข้าใจคนที่เราจะดูแล ซึ่งประกอบเป็น 3 กลุ่มคือ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุน้อยกว่า 19 ปี,กลุ่มอายุ 20 ถึง 34 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป 3.เข้าในสร้างแรง "ชื่นชม ยกย่อง เสริมกำลังใจ" การเห็นคุณค่าคนทำงานเป็นปรากฎการณ์ที่งดงามขององค์กรทุกคนตามบทบาทหน้าที่ของตัวเอง เสริมแรงคนทำงานผ่านกระบวนการในการจัดความรู้ โดยใช้เครื่องมือ เรื่องเล่าเร้าพลัง ในประเด็น "แม่ลูกผูกพัน ร่วมสร้างฝันครอบครัวใหม่"

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต และการดูแลตนเองหลังคลอดและทารกในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย 3. สร้างทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และกลุ่มแม่อาสาเลือดใหม่ ให้มีความรู้และมีสมรรถนะที่จำเป็นในการดูแลกลุ่มเป้าหมาย 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ ให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในการสร้างครอบครัวใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มแม่และเด็กได้รับบริการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพ ส่งผลให้มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน และเด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต และการดูแลตนเองหลังคลอดและทารกในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย 3. สร้างทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และกลุ่มแม่อาสาเลือดใหม่ ให้มีความรู้และมีสมรรถนะที่จำเป็นในการดูแลกลุ่มเป้าหมาย 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ ให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในการสร้างครอบครัวใหม่
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต และการดูแลตนเองหลังคลอดและทารกในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย 3. สร้างทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และกลุ่มแม่อาสาเลือดใหม่ ให้มีความรู้และมีสมรรถนะที่จำเป็นในการดูแลกลุ่มเป้าหมาย 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ ให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในการสร้างครอบครัวใหม่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเข้าใจ 3 อย่าง สร้างการดูแลครอบครัวใหม่ให้มีคุณภาพ ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1543-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าหวี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด