กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุไลแก้วน้อย

ชื่อโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2560-L7257-3-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2560-L7257-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๒ มาตรา ๑๖ กล่าวว่าให้เทศบาลเมืองพัทยา และองค์กรบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง โดย(๑๐) คือ สังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส อีกทั้งเป็นไปตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ อำนาจหน้าที่ของเทศบาลฯ มาตรา๕๔(๔) ให้มีและบำรุงการสงเคราะห์มารดาและเด็ก ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลเมืองคอหงส์ทุกแห่ง จึงได้วางแนวทางในการจัดทำแผนงาน/โครงการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นอาหารกลางวัน และอาหารเช้าสำหรับนักเรียน ทั้งนี้ ในส่วนของอาหารกลางวัน เทศบาลฯ สามารถจัดบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับงบประมาณเงินอุดหนุดจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและมีการบริหารจัดการแบบ "ครัวกลาง" แต่สำหรับการจัดอาหารเช้าให้กับนักเรียน ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองคอหงส์ทั้ง ๔ แห่ง ต่างให้ความสำคัญเนื่องจากอาหารเช้าเป็นมื้อสำคัญที่ขาดไม่ได้จำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กจะได้รับประทานอาหารเช้า โดยเฉพาะการที่เด็กจะต้องมาเรียนหนังสือซึ่งเป็นช่วงที่มีการใช้สมองอย่างมาก เพื่อที่จะเป็นแหล่งพลังงานในการที่เด็กจะได้ใช้สมองในการทำกิจกรรมต่างๆ มีส่วนช่วยพัฒนาการทั้งต่อทางร่างกายและสมองของเด็กพร้อมที่จะเรียนรู้อย่างมีสมาธิ และมีความจำหากเด็กไม่ได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วนหรือไม่เพียงพอ จะส่งผลเสียต่อทางสุขภาพร่างกายกับระบบภูมิคุ้มกัน อาจจะทำให้ป่วยง่ายพร้อมยังมีผลในเรื่องสติปัญญาจะทำให้เด็กเรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง และจะจำอะไรได้ไม่ค่อยดี ซึ่งสอดรับกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ที่เปิดเผยข้อมูลจากนักโภชนาการว่า มื้ออาหารเช้าสำหรับเด็ก ควรได้รับสารอาหารในกลุ่มประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้ - อาหารในกลุ่มข้าวแป้ง ให้สารอาหารที่เรียกว่า "คาร์โบไฮเดรต" เป็นแหล่งพลังงาน จึงควรเลือกข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง หรือขนมปังโฮลวีท หรือไม่ก็เป็นอาหารเช้าที่ทำจากธัญพืช เพราะอาหารในกลุ่มนี้เป็น คาร์โบไฮเดรต ที่มีใยอาหารช่วยให้เด็กมีพลังงานที่ต่อยย่อยและดูดซึม ซึ่งเป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาอย่างช้าๆ ทำให้เด็กมีพลังงานอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อสมาธิและอารมณ์ - อาหารในกลุ่มของเนื้อสัตว์ ให้สารอาหารที่เรียกว่า "โปรตีน" ช่วยให้เด็กมีสมาธิ และพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ ดังนั้นควรเลือกจำพวก ไข่ ปลา เนื้อหมู และเนื้อไก่ -นม และผลิตภัณฑ์จากนมต่างๆ นอกจากจะเป็นแหล่งโปรตีนที่ดีแล้ว ยังเป็นแหล่งของแคลเซียมวรวมถึงวิตามินต่างๆ จะช่วยบำรุงทั้งร่างกายและสมองอีกด้วย จากการเริ่มโครงการไปเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ จนถึงปัจจุบันพบว่า เด็กที่มีทุพโภชนาการลดลง นั่นหมายถึงเด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูง ที่สมส่วนเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ เด็กทุพโภชนาการ ๑๘ คน มีนำหนักสมส่วนเพิ่มขึ้น ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๙๖ %
ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ เด็กทุพโภชนาการ ๒๕ คน มีน้ำหนักสมส่วนเพิ่มขึ้น ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๖ %
สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐จากข้อมูลการติดตามและประเมินผลจาการรายงานภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก พบว่า จำนวนเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ มีจำนวนทั้งสิ้น ๖๘ คน เป็นเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๖๙ %ประกอบด้วย - เด็กระดับชั้นอนุบาล ๑ จำนวน ๙ คน - เด็กระดับชั้นอนุบาล ๒ จำนวน ๙ คน - เด็กระดับชั้นอนุบาล ๓ จำนวน ๙ คน ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองหวะ เทศบาลเมืองคอหงส์ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในการสนับสนุนอาหารเช้าให้กับนักเรียน จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ ขึ้นนั่นเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เป้าหมาย : นักเรียนที่ทุพโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน ๒๗ คน วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ทุพโภชนาการ มีอาหารเช้ารับประทานอย่างเพียงพอ ส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนักที่สมส่วนเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้นทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ทุพโภชนาการ มีอาหารเช้ารับประทานอย่างพอเพียง ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักสมส่วนเพิ่มขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เป้าหมาย : นักเรียนที่ทุพโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน ๒๗ คน วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ทุพโภชนาการ มีอาหารเช้ารับประทานอย่างเพียงพอ ส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนักที่สมส่วนเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการมีจำนวนลดลง ๒. จำนวนเด็กทุพโภชนาการ มีน้ำหนัก/ส่วนสูง สมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๙๕

     

    2
    ตัวชี้วัด :

     

    3
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เป้าหมาย : นักเรียนที่ทุพโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน ๒๗ คน

    วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ทุพโภชนาการ มีอาหารเช้ารับประทานอย่างเพียงพอ ส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนักที่สมส่วนเพิ่มขึ้น (2)  (3)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน เทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 2560-L7257-3-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจุไลแก้วน้อย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด