โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย ”
ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ขวัญหนู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
ที่อยู่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย ตำบลสำนักแต้วโดยการรวมตัวกันของประชาชนและเยาวชนในเขตตำบลสำนักแต้ว ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนทุกวัยทั้งตำบลมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้สดชื่น ทำให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริสุขภาพให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์อยู่เสมอ ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมคิดร่วมทำ กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณี สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถประสบการณ์การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อการดำรงชีพไปยังสมาชิกรุ่นต่อๆไป ทำให้ประชาชนในเขตตำบลสำนักแต้วได้มีแนวคิดที่จะรวมกลุ่มและทำกิจกรรมร่วมกันให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน อันจะส่งผลให้ประชาชนทุกวัยมีสุขภาพที่ดีทั้งทางกายและทางจิตใจ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นสังคมที่มีคุณค่า เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่ทรงคุณค่าต่อไป
กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย ตำบลสำนักแต้วได้มีความเห็นร่วมกันแล้วว่า ประชาชนยังคงมีความเหงา มีความเครียดจากปัญหาเศรษฐกิจย่ำแย่ สิ่งหนึ่งที่ที่ช่วยให้ประชาชนได้ผ่อนคลายจิตใจ มีอารมณ์ที่แจ่มใสได้ คือดนตรี การคลายเครียดด้วยดนตรี กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย จึงได้จัดทำโครงการ “รำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย” เป็นกิจกรรมรื่นเริงเพื่ออนุรักษ์ วัฒนธรรม และส่งเสริมสุขภาพ จึงมีความจำเป็นที่ต้องอุปกรณ์ชุดกลองยาว ใช้สำหรับการแสดงศิลปะและการละเล่นแบบไทยๆ ซึ่งเป็นดนตรีที่มีลักษณะสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ เกิดความสนใจในกิจกรรมของประชาชนมากยิ่งขึ้น กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย จึงใคร่ขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์ชุดรำกลองยาว จากองค์การบริหารส่วนตำบลสำนักแต้ว ในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ
- เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
- เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรวมกลุ่มกันรำกลองยาวในตอนเย็น ณ โรงเรียนบ้านเกาะค่าง หมู่ที่ 8 หรือสถานที่สาธารณะอื่นที่มีความเหมาะสม
- จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในหมู่ที่8หันมาให้ความสนใจในการออกำลังกายโดยการใช้กิจกรรมรำกลองยาวเป็นสื่อซึ่งจะก่อให้เกิดกวรรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ช่วยให้สุขภาพกายมีความแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดีอีกทั้งยังเป็นกิจกรรมที่มีความสนุกสนานอนุรักษ์ความเป็นไทยให้ยั่งยืนสืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
100.00
100.00
2
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการรำกลองยาวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
100.00
100.00
3
เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีพัฒนาการสามารถช่วยเหลือตนเองเพื่อสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
100.00
100.00
4
เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจและมีความสุขในการทำกิจกรรม
100.00
100.00
5
เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เยาวชนรุ่นใหม่เข้าร่วมกิจกรรมและสามารถถ่ายทอดอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาวได้
20.00
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ (3) เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ (4) เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (5) เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรวมกลุ่มกันรำกลองยาวในตอนเย็น ณ โรงเรียนบ้านเกาะค่าง หมู่ที่ 8 หรือสถานที่สาธารณะอื่นที่มีความเหมาะสม (2) จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสัญญา ขวัญหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย ”
ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ขวัญหนู
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย ตำบลสำนักแต้วโดยการรวมตัวกันของประชาชนและเยาวชนในเขตตำบลสำนักแต้ว ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนทุกวัยทั้งตำบลมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้สดชื่น ทำให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริสุขภาพให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์อยู่เสมอ ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมคิดร่วมทำ กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณี สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถประสบการณ์การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อการดำรงชีพไปยังสมาชิกรุ่นต่อๆไป ทำให้ประชาชนในเขตตำบลสำนักแต้วได้มีแนวคิดที่จะรวมกลุ่มและทำกิจกรรมร่วมกันให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน อันจะส่งผลให้ประชาชนทุกวัยมีสุขภาพที่ดีทั้งทางกายและทางจิตใจ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นสังคมที่มีคุณค่า เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่ทรงคุณค่าต่อไป กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย ตำบลสำนักแต้วได้มีความเห็นร่วมกันแล้วว่า ประชาชนยังคงมีความเหงา มีความเครียดจากปัญหาเศรษฐกิจย่ำแย่ สิ่งหนึ่งที่ที่ช่วยให้ประชาชนได้ผ่อนคลายจิตใจ มีอารมณ์ที่แจ่มใสได้ คือดนตรี การคลายเครียดด้วยดนตรี กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย จึงได้จัดทำโครงการ “รำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย” เป็นกิจกรรมรื่นเริงเพื่ออนุรักษ์ วัฒนธรรม และส่งเสริมสุขภาพ จึงมีความจำเป็นที่ต้องอุปกรณ์ชุดกลองยาว ใช้สำหรับการแสดงศิลปะและการละเล่นแบบไทยๆ ซึ่งเป็นดนตรีที่มีลักษณะสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ เกิดความสนใจในกิจกรรมของประชาชนมากยิ่งขึ้น กลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัย จึงใคร่ขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์ชุดรำกลองยาว จากองค์การบริหารส่วนตำบลสำนักแต้ว ในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มรำกลองยาว สังคมทุกวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ
- เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
- เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรวมกลุ่มกันรำกลองยาวในตอนเย็น ณ โรงเรียนบ้านเกาะค่าง หมู่ที่ 8 หรือสถานที่สาธารณะอื่นที่มีความเหมาะสม
- จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในหมู่ที่8หันมาให้ความสนใจในการออกำลังกายโดยการใช้กิจกรรมรำกลองยาวเป็นสื่อซึ่งจะก่อให้เกิดกวรรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ช่วยให้สุขภาพกายมีความแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดีอีกทั้งยังเป็นกิจกรรมที่มีความสนุกสนานอนุรักษ์ความเป็นไทยให้ยั่งยืนสืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการรำกลองยาวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีพัฒนาการสามารถช่วยเหลือตนเองเพื่อสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี |
100.00 | 100.00 |
|
|
4 | เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจและมีความสุขในการทำกิจกรรม |
100.00 | 100.00 |
|
|
5 | เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เยาวชนรุ่นใหม่เข้าร่วมกิจกรรมและสามารถถ่ายทอดอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาวได้ |
20.00 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของประชาชนทุกวัย ให้มีกิจกรรมร่วมกันในการตีกลองยาว ให้เกิดความชำนาญ (3) เพื่อให้ประชาชนทุกวัย มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ (4) เพื่อให้ประชาชนทุกวัย ได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (5) เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ การรำกลองยาว และอนุรักษ์สืบสานศิลปะการรำกลองยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรวมกลุ่มกันรำกลองยาวในตอนเย็น ณ โรงเรียนบ้านเกาะค่าง หมู่ที่ 8 หรือสถานที่สาธารณะอื่นที่มีความเหมาะสม (2) จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสัญญา ขวัญหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......