กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง” ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรมา หะยีดือราแม




ชื่อโครงการ โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง”

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง” " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3013-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง เป็น 1 ในสาเหตุสำคัญที่ทำให้ประชากรทั่วโลกตายก่อนวัยอันควร และเป็นปัญหาที่กำลังมีความรุนแรงมากขึ้นทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ซึ่งภาวะความดันโลหิตสูงจะไม่มีสัญญาณเตือนหรืออาการแสดงให้เห็น จึงมักจะถูกเรียกว่าเป็น “ฆาตกร เงียบ” (Silent killer) ผู้ป่วยจำนวนมากเป็นโรคนี้โดยที่ไม่รู้ตัวมาก่อนว่ามีภาวะความดันโลหิตสูง หากไม่ได้รับการดูแลรักษาจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงของกล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า และความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นเป็นสี่เท่า
จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก (WHO, 2013) พบว่า โรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทั่วโลกสูงถึง 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ 12.8 ของสาเหตุการตายทั้งหมด ทั้งยังมีผลสูญเสียสุขภาวะ 57 ล้านปีหรือคิดเป็นร้อยละ 3.7 ของ DALYs จำนวนผู้ที่มีความดันโลหิตสูงทั่วโลกพบว่ามีจำนวนเกือบถึงพันล้านคน ซึ่งสองในสามจะอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา และมีการคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคน ในปีพ.ศ. 2568 โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปเช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มี ส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาระโรคที่เพิ่มขึ้น และสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จึงได้จัดทำโครงการ “แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง”เพื่อให้ประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง และลดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง อยู่ในระดับดี
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจรรมขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง
  3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องอยู่ในระดับดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ทีมงาน เพื่อกำหนดรูปแบบของกิจกรรม/ ประชาสัมพันธ์โครงการฯภายในหมู่บ้าน ประกอบด้วย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน, ตัวแทนผู้นำชุมชน, ตัวแทนผู้นำศาสนา, และตัวแทนผู้นำองค์กรอื่นๆ และสรุปผลโครงการ
  2. จัดทำทะเบียนฐานข้อมูลของผู้ป่วย เพื่อจัดประเภท แบ่งผู้รับผิดชอบและผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
  3. ให้ความรู้ในเรื่อง “รู้ รับ ปรับ เปลี่ยน ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง”
  4. กิจกรรมการออกกำลังกาย ภายใต้หัวข้อ “ขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง” โดยมีผู้นำอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมและทีมนักศึกษา สัปดาห์ละ 1 วัน
  5. เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง

2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ทีมงาน เพื่อกำหนดรูปแบบของกิจกรรม/ ประชาสัมพันธ์โครงการฯภายในหมู่บ้าน ประกอบด้วย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน, ตัวแทนผู้นำชุมชน, ตัวแทนผู้นำศาสนา, และตัวแทนผู้นำองค์กรอื่นๆ และสรุปผลโครงการ

วันที่ 16 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

12 0

2. จัดทำทะเบียนฐานข้อมูลของผู้ป่วย เพื่อจัดประเภท แบ่งผู้รับผิดชอบและผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 17 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

9 0

3. ให้ความรู้ในเรื่อง “รู้ รับ ปรับ เปลี่ยน ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง”

วันที่ 19 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

50 0

4. กิจกรรมการออกกำลังกาย ภายใต้หัวข้อ “ขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง” โดยมีผู้นำอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมและทีมนักศึกษา สัปดาห์ละ 1 วัน

วันที่ 27 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

50 0

5. เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 31 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

9 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง อยู่ในระดับดี
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมกิจกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
90.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจรรมขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย(รำไม้พรอง, เต้นแอโรบิค) สัปดาห์ละ1 ครั้ง โดยมีการลงทะเบียนก่อนเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง
90.00

 

3 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องอยู่ในระดับดี
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง อยู่ในระดับดี (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจรรมขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง (3) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องอยู่ในระดับดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ทีมงาน เพื่อกำหนดรูปแบบของกิจกรรม/ ประชาสัมพันธ์โครงการฯภายในหมู่บ้าน ประกอบด้วย อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน, ตัวแทนผู้นำชุมชน, ตัวแทนผู้นำศาสนา, และตัวแทนผู้นำองค์กรอื่นๆ และสรุปผลโครงการ (2) จัดทำทะเบียนฐานข้อมูลของผู้ป่วย เพื่อจัดประเภท แบ่งผู้รับผิดชอบและผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (3) ให้ความรู้ในเรื่อง “รู้ รับ ปรับ เปลี่ยน ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง” (4) กิจกรรมการออกกำลังกาย ภายใต้หัวข้อ “ขยับกายวันละนิด พิชิตความดันโลหิตสูง” โดยมีผู้นำอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมและทีมนักศึกษา สัปดาห์ละ 1 วัน (5) เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ“แหลมนกร่วมใจ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรมา หะยีดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด