โครงการกำจัดขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ประจำปี 2563
ชื่อโครงการ | โครงการกำจัดขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ประจำปี 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L4282-2-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม. ม.5 บ้านปลักปลา ตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ |
วันที่อนุมัติ | 24 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 20 ตุลาคม 2563 |
งบประมาณ | 10,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเจ๊ะรอฮายู เจ๊ะอูมา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 11 มี.ค. 2563 | 11 มี.ค. 2563 | 10,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 10,500.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และ ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิด ของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคจากสัตว์แมลง โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนเกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
พื้นที่ ตำบลโฆษิต เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์จากโรคที่เกิดจาขยะมูลฝอย จากข้อมูล 3 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอย ดังนี้คือ ปี พ.ศ 2560 จำนวน 503 ราย พ.ศ.2561 จำนวน 236 รายและ พ.ศ.2562 จำนวน 140 ราย จึงจัดทำโครงการกำจัดขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ประจำปี 2563 ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 10,500.00 | 1 | 10,500.00 | 0.00 | |
2 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | ประชุมให้ความรู้ | 0 | 10,500.00 | ✔ | 10,500.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 10,500.00 | 1 | 10,500.00 | 0.00 |
- จัดทำโครงการเพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติ
- ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการ
- ประชุมชี้แจงแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ชุมชน ทุกหมู่บ้าน
- จัดทำแผน Big Cleaning Day
- ดำเนินการงานตามโครงการกำจัดขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันควบคุมโรคในชุมชน
- ประเมินผลโครงการ
- อัตราป่วยด้วยโรคจากขยะมูลฝอยในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มี.ค. 2563 16:17 น.