กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายมอฮัมหมาด เทศอาเส็น

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-50094-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-50094-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น และจากการสำรวจข้อมูลประชาชนในพื้นที่ปี 2559 อายุ 15 ปี ขึ้นไป พบว่า มีการออกกำลังกายแต่ไม่เพียงพอที่จะช่วยป้องกันโรคได้ การรับประทานอาหารมีความถี่เฉลี่ยการบริโภคผักและผลไม้เท่ากับ 5.97 และ 4.56 วันต่อสัปดาห์ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนมีการออกกำลังกายสมำ่เสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่ง กิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนโดน ได้ดำเนินการเพื่อพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ มาอย่างต่ิอเนื่อง ซึ่งในปี 2560 ได้มีมติพิจารณาคัดเลือก หมู่ที่ 2 บ้านสะพานเคียน เนื่องจากมีทุนทางสังคมและเครือข่ายภาคีที่เข้มแข็ง และเชื่อมการทำงานแบบบูรณาการ การจัดการสิ่งแวดล้อมควบคู่ร่วมด้วย เพื่อสู่หมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบครบวงจรและเป็นต้นแบบเพื่อการเรียนรู้และขยายผลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
    2. เกิดหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ทีมงาน คณะทำงาน จำนวน 15 คน ประกอบด้วย อสม.,สมาชิก อบต. และคณะกรรมการหมู่บ้าน
    2. เสริมสร้างศักยภาพแกนนำครอบครัว กลุ่มเป้าหมาย 150 คน เข้าร่วมกิจกรรม ครบ 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100
    3. มีการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน จำนวน 95 คน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 75 และไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้น
    4. สมาชิกในชุมชน มีการออกกำลังกาย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 85 มีชมรมออกกำลังกาย จำนวน 2 ชมรม
    5. มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ มีแปลงผัก  จำนวน 256 แปลง มีสถานที่ออกกำลังกายส่วนรวม จำนวน 1 แห่ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (2) 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (3) 3.เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-50094-2-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมอฮัมหมาด เทศอาเส็น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด