กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยาและโรคมือเท้าปากเปื่อยในเด็กเล็ก ตำบลท่าหมอไทรอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยาและโรคมือเท้าปากเปื่อยในเด็กเล็ก ตำบลท่าหมอไทรอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ 63-l5180-1-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหมอไทร
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 15 มกราคม 2564
งบประมาณ 28,640.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธนพนธ์ จรสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพนธ์ จรสุุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 130 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
10.00
2 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
26.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลสุขภาพตำบลท่าหมอไทรปี๒๕๖๒พบว่ามีเด็กเล็กที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กป่วยด้วยโรคมือเท้าปากเปื่อยจำนวน ๖ คน(ร้อยละ๔.๖๒)และเด็กเล็กที่ยังไม่เข้าเรียนจำนวน๔คน(ร้อยละ๑.๐๔)และประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๒๖ ราย (อัตรา ๔๐๗.๒๐ต่อประชากรแสนคน) ป่วยโรคชิคุนกุนยา จำนวน ๕ ราย (อัตรา ๗๘.๓๑ต่อประชากรแสนคน)ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดขึ้นทุกปีทำให้เสียสุขภาพ เสียเวลาเรียนและเสียเวลาในการทำงาน บางครั้งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตอีกด้วยเพื่อเป็นการลดปัญหาข้างต้นทีมควบคุมโรคตำบลท่าหมอไทรจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะและโรคมือเท้าปากในเด็กเล็ก ตำบลท่าหมอไทรอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ปี๒๕๖๓ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

10.00 10.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

26.00 26.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 28,640.00 0 0.00
1 เม.ย. 63 - 31 ธ.ค. 63 ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา 0 23,190.00 -
30 เม.ย. 63 - 31 ธ.ค. 63 สำรวจลูกน้ำและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 0 250.00 -
30 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ทำความสะอาดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 4,400.00 -
19 มิ.ย. 63 - 19 ส.ค. 63 สอนการล้างมือที่ถูกวิธีแก่กลุ่มแกนนำและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ไม่มีการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกอัตราการเกิดโรคมือเท้า ปากเปื่อยในเด็กเล็กลดลงค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินเกณฑ์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2563 10:08 น.