โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย ”
ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายพนม วงศ์เทพบุตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1464-1-05 เลขที่ข้อตกลง 12/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1464-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทย ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัร เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด หญิงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจ แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่การดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย เช่นการอยู่ไฟ การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร ตลอดจนการนวดหลังคลอด เป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับสู่สภาพปกติได้โดยเร็วตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ
ดังนั้น รพสต.ควนธานี จึงเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย ขึ่้นเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพของมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย โดยได้จัดกิจกรรมบริการดูแลหญิงหลังคลอดเข้าสู่ระบบบริการผู้ป่วย เพื่อเน้นพฤติกรรมหญิงหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริมการป้องกันรักษาสุขภาพในระยะหลังคลอด โดยให้บริการเกี่ยวกับ การนวดหลังคลอด การประคบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การอบสมุนไพร การนั่งถ่าน ตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาารบำรุงสุขภาพ อาหารบำรุงน้ำนม น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ อาหารแสลง เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพบำบัดโรคที่ดีอีกด้วยวิธีหนึ่งด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.
- ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ
- ค่าวัสดุทางการแพทย์
- ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงหลังคลอดได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
2.หญิงหลังคลอดได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
3.สามารถขยายการให้บริการของงานแพทย์แผนไทย รพสต.ควนธานีได้อย่างสมบูรณ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าวัสดุทางการแพทย์
วันที่ 8 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดหาเครื่องวัดความดัน สำหรับตรวจสุขภาพของมารดาหลังคลอด เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต ตรวจความแข็งตึงของกล้ามเนื้อและตรวจดูยอดมดลูก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
0
0
2. ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ
วันที่ 8 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ค่าถ่ายเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
0
0
3. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
วันที่ 14 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดหาวัสดุทำหัตถการฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย เช่น การนวดคลายกล้ามเนื้อ การประคบ สมุนไพร การทับหม้อเกลือ การอบสมุนไพร และการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพหญิงคลอด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
30
0
4. ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.
วันที่ 21 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดหาเตาแก๊ส สำหรับทำหัตถการฟื้นฟูสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น
- มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
0.00
2
หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
0.00
3
ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการ การแพทย์แผนไทยและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (2) หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (3) ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. (2) ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ (3) ค่าวัสดุทางการแพทย์ (4) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1464-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพนม วงศ์เทพบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย ”
ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายพนม วงศ์เทพบุตร
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1464-1-05 เลขที่ข้อตกลง 12/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1464-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทย ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัร เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด หญิงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจ แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่การดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย เช่นการอยู่ไฟ การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร ตลอดจนการนวดหลังคลอด เป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับสู่สภาพปกติได้โดยเร็วตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ ดังนั้น รพสต.ควนธานี จึงเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย ขึ่้นเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพของมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย โดยได้จัดกิจกรรมบริการดูแลหญิงหลังคลอดเข้าสู่ระบบบริการผู้ป่วย เพื่อเน้นพฤติกรรมหญิงหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริมการป้องกันรักษาสุขภาพในระยะหลังคลอด โดยให้บริการเกี่ยวกับ การนวดหลังคลอด การประคบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การอบสมุนไพร การนั่งถ่าน ตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาารบำรุงสุขภาพ อาหารบำรุงน้ำนม น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ อาหารแสลง เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพบำบัดโรคที่ดีอีกด้วยวิธีหนึ่งด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.
- ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ
- ค่าวัสดุทางการแพทย์
- ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงหลังคลอดได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย 2.หญิงหลังคลอดได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย 3.สามารถขยายการให้บริการของงานแพทย์แผนไทย รพสต.ควนธานีได้อย่างสมบูรณ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าวัสดุทางการแพทย์ |
||
วันที่ 8 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดหาเครื่องวัดความดัน สำหรับตรวจสุขภาพของมารดาหลังคลอด เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต ตรวจความแข็งตึงของกล้ามเนื้อและตรวจดูยอดมดลูก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
|
0 | 0 |
2. ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ |
||
วันที่ 8 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำค่าถ่ายเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
|
0 | 0 |
3. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ |
||
วันที่ 14 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดหาวัสดุทำหัตถการฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย เช่น การนวดคลายกล้ามเนื้อ การประคบ สมุนไพร การทับหม้อเกลือ การอบสมุนไพร และการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพหญิงคลอด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
|
30 | 0 |
4. ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดหาเตาแก๊ส สำหรับทำหัตถการฟื้นฟูสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ทำให้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/Pain Scale) ยังช่วยให้มารดาหลังคลอดได้รับการผ่อนคลาย และสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดได้ดียิ่งขึ้น - มารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใขด้านการดูแลสุขภาพตนเองในระยะหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย |
0.00 |
|
||
2 | หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ |
0.00 |
|
||
3 | ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการ การแพทย์แผนไทยและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | 30 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอด ในตำบลควนธานีได้รับการส่งเสริมสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (2) หญิงหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (3) ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชี้แจงแนวทางและจัดตารางการเยี่ยมมารดาหลังคลอดร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. (2) ออกเยี่ยมมารดาหลังคลอดและให้คำแนะนำ (3) ค่าวัสดุทางการแพทย์ (4) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1464-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพนม วงศ์เทพบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......