แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
อบรมให้ความรู้ | 1 เม.ย. 2563 | 2 พ.ย. 2563 |
|
|
|
1.ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง พบว่าก่อนดำเนินโครงการผู้เข้าร่วมมีความรู้คะแนนเฉลี่ย 11 8คะแนน (คะแนนต่ำสุด4 คะแนน , คะแนนสูงสุด 18 คะแนน ) ร้อยละ 55 และหลังจากดำเนินโครงการมีคะแนนเฉลี่ย 17 คะแนน (คะแนนต่ำสุด 14 คะแนนสูงสุด 20 คะแนน ร้อยละ 85) 1.2 ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัยไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร้อยละ 80 พบว่ายังมีสินค้าที่ไม่สามารถจัดจำหน่ายได้ หรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่เป็นยา ซึ่งไม่ผ่านมาตรฐาน 19 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 63.33 ซึ่งส่วนใหญ่ จำหน่ายยาประเภทยาอันตรายซึ่งห้ามจำหน่ายในร้านขายของชำ รองลงมาเป็นอาหารไม่ผ่านมาตรฐาน 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ซึ่งพบว่ามีอาหารที่ไม่มีฉลากและ มีอาหารที่หมดอายุวางจำหน่าย และปัญหาสุดท้ายเป้นการจัดสถานที่ ชั้นวางสิง่ของประเภทต่างๆที่ไม่เหมาะสม เช่นการวางอาหารไว้ใกล้วัตถุอันตราย จำนวน 6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 20 1.3 ร้านชำที่พัฒนาผ่านเกณฑ์คุณภาพทั้ง 4 เรื่อง มีทั้งหมด 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.30 ไม่ผ่านเกณฑ์ 23 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 76.66 |
|
ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน | 1 เม.ย. 2563 | 2 พ.ย. 2563 |
|
|
|
1.ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง พบว่าก่อนดำเนินโครงการผู้เข้าร่วมมีความรู้คะแนนเฉลี่ย 11 8คะแนน (คะแนนต่ำสุด4 คะแนน , คะแนนสูงสุด 18 คะแนน ) ร้อยละ 55 และหลังจากดำเนินโครงการมีคะแนนเฉลี่ย 17 คะแนน (คะแนนต่ำสุด 14 คะแนนสูงสุด 20 คะแนน ร้อยละ 85) 1.2 ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัยไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร้อยละ 80 พบว่ายังมีสินค้าที่ไม่สามารถจัดจำหน่ายได้ หรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่เป็นยา ซึ่งไม่ผ่านมาตรฐาน 19 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 63.33 ซึ่งส่วนใหญ่ จำหน่ายยาประเภทยาอันตรายซึ่งห้ามจำหน่ายในร้านขายของชำ รองลงมาเป็นอาหารไม่ผ่านมาตรฐาน 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ซึ่งพบว่ามีอาหารที่ไม่มีฉลากและ มีอาหารที่หมดอายุวางจำหน่าย และปัญหาสุดท้ายเป้นการจัดสถานที่ ชั้นวางสิง่ของประเภทต่างๆที่ไม่เหมาะสม เช่นการวางอาหารไว้ใกล้วัตถุอันตราย จำนวน 6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 20 1.3 ร้านชำที่พัฒนาผ่านเกณฑ์คุณภาพทั้ง 4 เรื่อง มีทั้งหมด 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.30 ไม่ผ่านเกณฑ์ 23 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 76.66 |
|