กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย ”
ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายพนม วงศ์เทพบุตร




ชื่อโครงการ โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-1-01 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1464-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกในประเทศไทยยังมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มขึ้นและยังคงมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเื้อไวรัสและยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคอีกทั้งยังมีปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญคือการเกิดชุมชนใหม่ที่เป็นชุมชนเมืองมากขึ้นมีประชากรหนาแน่นและมีการเดินทางเคลื่อนย้ายของประชากรและการคมนาคมที่สะดวกขึ้นจึงทำให้เกิดการแพร่กระจายโรคได้อย่างรวดเร็วสำหรับพื้นที่ในเขตตำบลควนธานีปีงบประมาณ 2561 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 5 ราย อัตราป่วย 183.87 ต่อแสนประชากรซึ่งนับว่ามีอัตราป่วยที่ยังสูงอยุ่มากส่วนในปีงบประมาณ 2562 พบผู้ป่วยลดลง รพสต.ควนธานีได้เห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคตั้งแต่ก่อนฤดูกาลระบาดรวมทั้งมีการดำเนินการตลอดช่วงฤดูฝนโดยมุ่งเน้นให้ชุมชนมี่ส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อลดอัตราการเกิดโรคในพื้นที่และลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตด้วยโรคไขเลือดออกของประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
  2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
  3. เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่ผู้นำชุมชนและอสม.ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล
  3. คณะกรรมการระดับตำบลลงประเมินบ้าน 6 หลัง เพื่อคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับตำบล
  4. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย
  5. ประชุมชี้แจงโครงการ
  6. กิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  7. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจประเมินบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีบ้านตัวอย่าง "บ้านสะอาดตา น่าอยู่ ปลอดภัยไร้โรคติดต่อ" เป็นแบบอย่างให้กับชุมชน 2.ความร่วมมือของชุมชนในการพัฒนาดูแล จัดการบ้านเรือนและชุมชน 3.ประชาชนป่วยเป็นไข้เลือดออกลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงโครงการ

วันที่ 22 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

2. กิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

วันที่ 23 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

3. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล

วันที่ 5 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจประเมินบ้าน

วันที่ 7 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563  พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย  ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ  ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

5. คณะกรรมการระดับตำบลลงประเมินบ้าน 6 หลัง เพื่อคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับตำบล

วันที่ 12 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

6. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 27 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ 1.2 ให้แต่ละหมู่บ้านจัดกิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายหมู่ละ 4ครั้ง 1.3 ผู้นำชุมชนคัดเลือกบ้าน หมู่ละ 3 หลังเพื่อรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 3. มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 หมู่บ้านที่มีค่า HI ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือไม่เกิน 5 จำนวน 4 หมู่บ้าน และค่า HI ระดับตำบลมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 6.7 แสดงให้เห็นถึงความชุกของลูกน้ำยุงลายระดับตำบลยังมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการระบาดของดรคไข้เลือกออก 1.2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.24 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน 10/แสนประชากร และพบผู้ป่วยที่หมู่2 จำนวน 1 ราย และหมู่ 5จำนวน 2 ราย ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วยไม่ว่าจาก สสอ. อสม. หรือทีม SRRT ก็สามารถควบคุมโรคได้ไม่ให้เกิดซ้ำภายใน 14 วัน 1.3 ได้มีบ้านตัวอย่าง บ้านสะอาดน่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ ระดับหมู่บ้านและระดับตำบลขึ้นเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนในการดูแลบ้านตนเองและดูแลชุมชนให้สะอาด น่าอยู่และปลอดโรคติดต่อ

ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ ยังพบว่าค่า HI สูงกว่าเกณฑ์ และมีผู้ป่วยเกินอัตราต่อแสนประชากร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
ตัวชี้วัด : ความร่วมมือของชุมชนในการพัฒนาดูแลจัดการบ้านเรื่อนและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
0.00

 

2 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลงโดยค่า HI ต่ำกว่า5 2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน10/ประชากรแสนคน
0.00

 

3 เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่ผู้นำชุมชนและอสม.ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : มีบ้านตัวอย่าง "บ้านสะอาดตา น่าอยู่ ปลอดภัย ไร้โรคติดต่อ" เป็นแบบอย่างให้กับชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (2) เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่ผู้นำชุมชนและอสม.ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (2) ตรวจประเมินและคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับหมู่บ้านและระดับตำบล (3) คณะกรรมการระดับตำบลลงประเมินบ้าน 6 หลัง เพื่อคัดเลือกบ้านตัวอย่างระดับตำบล (4) มอบเกียรติบัตรและป้ายบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย (5) ประชุมชี้แจงโครงการ (6) กิจกรรมทำความสะอาดชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (7) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจประเมินบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านเรือนสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพนม วงศ์เทพบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด