โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็ก 0-5 ปีในชุมชน
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็ก 0-5 ปีในชุมชน |
รหัสโครงการ | 63-L1464-2-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนธานี |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 18,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางบุญธรรม คุ้นมาก |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.512,99.563place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กปฐมวัย (อายุ 0-72) เป็นวัยที่สำคัญที่สุดของชีวิตมนุษย์เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเร็วมากทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ อวัยวะที่เจริญมากที่สุดในระยะนี้คือสมอง และเป็นวัยที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคขาดสารอาหาร ซึ่งผลเสียจากการขาดสารอาหารนั้นเด็กจะมีการพัฒนาการสมองได้น้อย สติปัญญาต่ำ การเรียนรู้ช้ามักพบว่าเด็กวัยนี้เป็นวัยที่มีปัญหาขาดสารอาหารมากกว่าวัยอื่น และเป็นวัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายอัตราป่วยอัตราตาย จากโรคต่างๆ สูงดังนั้นจึงได้มีระบบการเฝ้าระวังภาวะขาดสารอาหารโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของเด็กเพื่อติดตามและการวางแผนแก้ไข ชมรมอสม.ตำบลควนธานีได้เล็งเก็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จึงได้จัดทำโครงการโภชนาการในชุมชนขึ้น เพื่อให้ชุมชนมีความพร้อมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการการเด็กสนับสนุนส่งเสริมสุขภาพให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในกลุ่มเด็ก 0-72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ เด็ก 0-72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการร้อยละ 70 |
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-72 เดือน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย เด็ก 0-72 เดือน มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 |
0.00 | |
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวพโภชนาการในเด็ก 0 -72 เดือน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 |
0.00 | |
4 | เพื่อให้เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 18,800.00 | 2 | 18,800.00 | 0.00 | |
1 - 30 เม.ย. 63 | บริการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเด็ก 0-72 เดือน | 0 | 10,900.00 | ✔ | 10,900.00 | 0.00 | |
1 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก | 0 | 7,900.00 | ✔ | 7,900.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 18,800.00 | 2 | 18,800.00 | 0.00 |
1.ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนกองทุนฯ 2.ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ในชุมชนทุกๆ 3 เดือน 3.บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจงผู้ปกครองทราบ 4.จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ 5.เชิญผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรม 6.ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติ เดือนละ 1 ครั้ง จนครบ 3-6 เดือนและแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินต่อเนื่อง 7.สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน ส่งให้กองทุนฯ
1.เด็ก 0-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 2.ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ลดลง 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2563 11:19 น.