กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานิง แวเย็ง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2563 ถึง 12 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3013-02-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2563 - 12 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลอาศัยอำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2537 (และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ) มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มสตรีในตำบล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของกลุ่มสตรี และเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ล้วนมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก ในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมาก จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรทความปลอดภัย ปัญหาสุขภาพจิต และพฤติกรรมเสี่ยงจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ดังนั้นการดำเนินการในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนครอบคลมกลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ และในโอกาสที่ใกล้เข้าสู่เดือนรอมฎอน เดือนที่ยิ่งใหญ่ของศาสนาอิสลามซึ่งมุสลิมทุกคนต้องทำการถือศิลอดเป็นเวลา 1 เดือน และมุ่งมั่นในการปฏิบัติศาสนกิจต่างๆเพื่อหวังผลตอบแทนจากอัลลอฮ(ซ.บ.)จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ปฏิบัติต้องเตรียมความพร้อมของสุขภาพกายและใจ เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติศาสนกิจอย่างสมบูรณ์ และถูกต้องตามหลักคำสอนศาสนา ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของกลุ่มสตรีบ้านจือโระในตำบลบานา ในการปฏิบัติศาสนกิจในเดือนรอมฎอน จึงเล็งเห็นความสำคัญในการจะอบรมให้ความรู้ถึงวิธีการปฏิบัติตน การดูแลสุขภาพอนามัย การดูแลโภชนาการในเดือนรอมฎอน โดยเฉพาะกลุ่มสตรีเพื่อให้บุคคลเหล่านี้ สามารถปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างเต็มที่ ถูกต้องตามแนวทางศาสนาอิสลาม และส่งเสริมให้มีสุขภาพพลานามัยที่ดีต่อไป….…

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้และเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนในขณะถือศิลอดในเดือนรอมฏอนแก่กลุ่มสตรีและประชาชนทั่วไป
  2. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ
  3. เพื่อให้กลุ่มสตรีบ้านจือโระ สามารถปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและมีสุขภาพพลานามัยที่ดี และแข็งแรง
  4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฏอน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสตรีและสตรีวัยทำงานบ้านจือโระ มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพในเดือนรอมฏอน

  2. กลุ่มสตรีบ้านจือโระ สามารถปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและมีสุขภาพพลานามัยที่ดี และแข็งแรง

  3. ผู้เข้ารับการอบรม ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพและความรู้เกี่ยวกับศาสนาก่อให้เกิดความปรองดอง สมานสามัคคีในหมู่ผู้สูงอายุ และหน่วยงานที่จัดอบรมในตำบล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้และเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนในขณะถือศิลอดในเดือนรอมฏอนแก่กลุ่มสตรีและประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรี และประชาชนทั่วไปเข้าใจการปฏิบัติตนในเดือนรอมฏอน
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรี และประชาชนทั่วไปละศิลอดด้วยอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และหันกลับมาดูแลสุขภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มสตรีบ้านจือโระ สามารถปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและมีสุขภาพพลานามัยที่ดี และแข็งแรง
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรี และประชาชนทั่วไปนำหลักคำสอนของศาสนาอิสลามไปปฏิบัติตน เพื่อให้ได้สุขภาพพลานามัยที่ดี และแข็งแรง
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรี และประชาชนทั่วไป ได้แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้และเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนในขณะถือศิลอดในเดือนรอมฏอนแก่กลุ่มสตรีและประชาชนทั่วไป (2) เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ (3) เพื่อให้กลุ่มสตรีบ้านจือโระ สามารถปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและมีสุขภาพพลานามัยที่ดี และแข็งแรง (4) เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฏอน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพในเดือนรอมฎอน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอฮานิง แวเย็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด