โครงการเผชิญโรคระบาดจากโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
ชื่อโครงการ | โครงการเผชิญโรคระบาดจากโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย |
รหัสโครงการ | 63-L4119-1-5 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักงานสาธารณสุขอำเภอธารโต |
วันที่อนุมัติ | 31 มีนาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 70,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวันชัย บ่อเงิน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.167,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง มียุงลายและยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรค ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ของชุมชนในตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี โดยในปี พ.ศ.2562 ตลอดปี มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตลอดปี จำนวน 25 ราย โรคมาลาเรีย จำนวน 21 ราย และว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและมาลาเรียมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5-14 ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกและมาลาเลียในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย แต่จาดสภาพภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศที่เป็นโรค และในช่วงหลังเดือนเมษายน 2562 เริ่มมีฝนตกชุก ทำให้มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและยุงก้นปล่องมากขึ้น อาจมีแนวโน้มจะเกิดผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ถ้าไม่ได้มีมาตรการควบคุมและป้องกันโรค และในช่วงระหว่างวันที่ 18-22 มิถุนายน 2562 เกิดมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่บ้านหมู่ที่ 2,3,4 รวม 7 ราย มีไข้เลือดออกเกิดในพื้นที่ หมู่ที่ 2 จำนวน 7 ราย ดังนั้นจากจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วถือว่าได้เกิดการระบาดของโรค ดังนั้นเพื่อการควบคุมการระบาดของโรคในชุมชนตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและโรคระบาดได้หยุดลงจึงได้จัดทำโครงการเผชิญโรคระบาดจากโรคไข้เลือดออกและมาลาเรียโดยทีมควบคุมโรค ปี 2563
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด สามารถควบคุมโรคได้ภายใน 24 ชั่วโมง |
0.00 | |
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด สามารถควบคุมโรคได้ภายใน 24 ชั่วโมง |
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- จัดประชุมทีมควบคุมโรค จำนวน 30 คน จำนวน 1 ครั้ง
- กำหนดพื้นที่ในการดำเนินการ โดยการจัดลำดับความเสี่ยง 2.1 สำรวจความชุกของลูกน้ำยุงลายและยังก้นปล่องในชุมชน พร้อมทั้งกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง 2.2 สรุปความชุกของแต่ละพื้นที่ 2.3 จัดลำดับพื้นที่ดำเนินการ ก่อน-หลัง
- รณรงค์ใส่/แจก ทรายอะเบทในชุมชนทุกครัวเรือน เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและยังก้นปล่อง โดยอาสาสมัคสาธารณสุขทุก 3 เดือน
- ดำเนินการพ่นหมอกควันและพ่น ulv กำจัดยุงลายและุงก้นปล่องตัวแก่ ในหมู่บ้านเมื่อพบผู้ป่วยโรคมาลาเรีย ตามมาตรการ 0-3-7 ไข้เลือดออกมาตรการ 1-3-7
ขั้นประเมินผล - ประเมินการดำเนินโครงการส่งกองทุกหลักประกันสุขภาพ อบต.ธารโต
- สามารถควบคุมการระบาดของโรคมาลาเรียและไข้เลือดออกตามแนวทางที่กำหนด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2563 14:10 น.