กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ


“ โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ”

ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกอบกุล ราชแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ที่อยู่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11 / 2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)

โรคระบาดและภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดอันตราย และเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นใน 3 ลักษณะ คือ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เช่น การเกิดแผ่นดินถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ เช่น วาตภัย ภาวะโลกร้อน ลูกเห็บ ฟ้าผ่า เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางสภาวะแวดล้อมของโลก และภัยที่เกิดจากการระบาดของโรคอุบัติใหม่ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์ ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก อาทิ แผ่นดินไหว สึนามิ อุทกภัย ตลอดจนภัยพิบัติอื่นๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อมวลมนุษย์ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงมีตั้งแต่การเกิดขึ้นอย่างช้าๆ ไปจนถึงการเกิดอย่างฉับพลันและรุนแรง ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติในโลกต่างๆ เพื่อจะได้ปรับวิถึชีวิตให้สอดคล้องกับสภาวะในขณะนี้     ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั้งสิ้น 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จำนวน 582 ราย รวมมีผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน 67,088 ขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 33 ราย ยังไม่พบผู้เสียชีวิต (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563)
ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ร้านค้าชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของ อบต.ตาเซะ     องค์การบริหารส่วนตำบลตาเซะ รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง  ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของสุขภาพประชาชน จึงได้จัดทำ โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ขึ้น โดยรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน อสม. กลุ่มสตรี และกลุ่มอื่นๆ เพื่อให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในเขตตำบลตาเซะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในตำบลตาเซะทั้ง 2 แห่ง จึงเสนอโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นแก่ประชาชนในพื้นที่เมื่อเกิดภัยพิบัติได้ทันท่วงที
  2. 2 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของอบต.ตาเซะ
  3. 3. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต. ตาเซะ ในการป้องกันโรคไวรัส โคโรนา 19 (COVID-19)
  2. กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เช่น เจลล้างมือ ชุดป้องกันตนเอง PPE แว่นหน้านิรภัย หน้ากาก N95 ฯลฯ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
  2. ประชาชนในพื้นที่ อบต. ตาเซะ ได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นแก่ประชาชนในพื้นที่เมื่อเกิดภัยพิบัติได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด : สามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างน้อยร้อยละ 80
50.00

 

2 2 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของอบต.ตาเซะ
ตัวชี้วัด : สามารถให้ความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาดแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างน้อยร้อยละ 80
50.00

 

3 3. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : สามารถส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย เผยแพร่ความรู้ และแนะนำวิธีการทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนไว้ป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นแก่ประชาชนในพื้นที่เมื่อเกิดภัยพิบัติได้ทันท่วงที (2) 2 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของอบต.ตาเซะ (3) 3. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต. ตาเซะ  ในการป้องกันโรคไวรัส โคโรนา 19 (COVID-19) (2) กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เช่น    เจลล้างมือ  ชุดป้องกันตนเอง PPE  แว่นหน้านิรภัย หน้ากาก N95 ฯลฯ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์และป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพเมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกอบกุล ราชแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด