โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ”
ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางดียานา ประจงไสย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)
ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63–L8413-02-02 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63–L8413-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากโรคอื่นๆ ทั้งโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ โดยปัจจัยมักเกิดจากด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก และการที่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กและเด็กไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น
จากสถานการณ์ที่ผ่านมาในแต่ละปีในเขตพื้นที่ตำบลบาลอ มีเด็กได้รับอุบัติเหตุจากการเล่นน้ำและจมน้ำเสียชีวิต เพราะในพื้นที่ดังกล่าวมีแหล่งน้ำ ที่เด็กสามารถเล่นน้ำได้ โดยผู้ปกครองอาจจะไม่ทราบและไม่ตระหนักถึงสาเหตุการเสียชีวิตของบุตรหลาน จากการจมน้ำ ประกอบกับภูมิอากาศปีนี้ร้อนมาก หากเด็กตระหนักรู้ถึงอันตรายของการเล่นน้ำ และการช่วยเหลือตนเอง หรือช่วยเหลือเพื่อนเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง นอกจากนี้อาสาสมัครในชุมชน ก็เป็นอีกองค์กรหนึ่งที่จะเป็นผู้ที่สามารถช่วยเหลือเด็กที่เกิดอุบัติเหตุจากการเล่นน้ำ และนำส่งโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทันท่วงที ซึ่งจะทำให้ลดอัตราการตายจากการจมน้ำได้ เทศบาลตำบลบาลอ เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)ร่วมกับเทศบาลตำบลบาลอขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ
- 2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องโดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ
2. ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 6 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อการสอน ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
- จัดการฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน โดยจัดกิจกรรมฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและทักษะการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำในกลุ่มนักเรียน เยาวชน ตามหลักสูตรดังนี้
4.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก
- แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน
- สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฏการณ์ Rip Current
- วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย
- ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทาง
- ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ
4.2 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยน ยื่น อุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก ถังแกลลอน เสื้อชูชีพ ท่อ PVC ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) แก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล
5. จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ดังนี้
- การเอาชีวิตรอดในน้ำ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำในน้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ
- ฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ การว่ายน้ำท่าลูกหมาตกน้ำ
6. แสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่น สถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน
7. ติดตั้งป้ายและปรับปรุงสถานที่หรือจุดเสี่ยง
8. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนฯ ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องโดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ
2. ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 กลุ่มเป้าหมาย สามารถสาธิตการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ถูกต้อง
0.00
2
2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด : 2. อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำลดลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ (2) 2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63–L8413-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดียานา ประจงไสย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ”
ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางดียานา ประจงไสย
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63–L8413-02-02 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63–L8413-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากโรคอื่นๆ ทั้งโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ โดยปัจจัยมักเกิดจากด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก และการที่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กและเด็กไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น
จากสถานการณ์ที่ผ่านมาในแต่ละปีในเขตพื้นที่ตำบลบาลอ มีเด็กได้รับอุบัติเหตุจากการเล่นน้ำและจมน้ำเสียชีวิต เพราะในพื้นที่ดังกล่าวมีแหล่งน้ำ ที่เด็กสามารถเล่นน้ำได้ โดยผู้ปกครองอาจจะไม่ทราบและไม่ตระหนักถึงสาเหตุการเสียชีวิตของบุตรหลาน จากการจมน้ำ ประกอบกับภูมิอากาศปีนี้ร้อนมาก หากเด็กตระหนักรู้ถึงอันตรายของการเล่นน้ำ และการช่วยเหลือตนเอง หรือช่วยเหลือเพื่อนเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง นอกจากนี้อาสาสมัครในชุมชน ก็เป็นอีกองค์กรหนึ่งที่จะเป็นผู้ที่สามารถช่วยเหลือเด็กที่เกิดอุบัติเหตุจากการเล่นน้ำ และนำส่งโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทันท่วงที ซึ่งจะทำให้ลดอัตราการตายจากการจมน้ำได้ เทศบาลตำบลบาลอ เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี)ร่วมกับเทศบาลตำบลบาลอขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ
- 2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องโดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ 2. ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 6 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน
- สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฏการณ์ Rip Current
- วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย
- ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทาง
- ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ
4.2 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยน ยื่น อุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก ถังแกลลอน เสื้อชูชีพ ท่อ PVC ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) แก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล
5. จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ดังนี้
- การเอาชีวิตรอดในน้ำ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำในน้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ
- ฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ การว่ายน้ำท่าลูกหมาตกน้ำ
6. แสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่น สถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 กลุ่มเป้าหมาย สามารถสาธิตการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ตัวชี้วัด : 2. อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำลดลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึงการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง หากเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ และสามารถตั้งสติ โดยไม่เกิดอาการกลัวหรือตกใจ (2) 2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63–L8413-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดียานา ประจงไสย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......