กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประสาน เหล๊าะเหม

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,447.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืชแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ตามชนิดของสารเคมีได้ 4 ประเภท คือ กลุ่มออร์กาโนคลอไรน์, กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต, กลุ่มคาร์บาเมต, กลุ่มสารสังเคราะห์ไพรีทอย ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพของผู้ได้รับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายจะมีการแสดงอาการอยู่ 2 แบบ คือแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง โดยแบบเฉียบพลันจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวนมาก จะแสดงอาการอย่างทันทีทันใด เช่น ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บหน้าอก ปวดกล้ามเนื้อ เหงื่อออกมาก ท้องร่วง เป็นตะคริว หายใจติดขัด มองเห็นไม่ชัดเจน หรืออาจร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต ส่วนภัยร้ายเงียบหรือเรียกว่า    “การตายผ่อนส่ง” คือแบบเรื้อรัง โดยจะเกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวนน้อยต่อเนื่องเป็นเวลานาน ซึ่งกว่าจะแสดงอาการอาจใช้เวลาเป็นเดือน เป็นปี ภายหลังจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เช่น การเป็นหมัน การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ    การเป็นอัมพฤต อัมพาต และมะเร็ง เป็นต้น

    จากผลการดำเนินงานโครงการตรวจคัดกรองหาสารพิษตกค้างในร่างกายเกษตรกรตำบลม่วงงาม โดยงานสวัสดิการและ    พัฒนาชุมชน เทศบาลเมืองม่วงงามร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม ในระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2562    ถึง วันที่ 10 สิงหาคม 2562 พบว่าเกษตรกรที่เข้าร่วมตรวจคัดกรองฯ ครั้งที่ 1 ทั้ง 10 หมู่บ้าน จำนวนทั้งสิ้น 138 คน มีความเสี่ยงจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกาย แบ่งได้ 4 ระดับดังนี้ ปกติ 36 คน ปลอดภัย 34 คน มีความเสี่ยง 41 คน และ ไม่ปลอดภัย 27 คน เมื่อคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ พบว่า ปกติ 26 เปอร์เซ็นต์ ปลอดภัย 25 เปอร์เซ็นต์ มีความเสี่ยง 29 เปอร์เซ็นต์ และไม่ปลอดภัย 20 เปอร์เซ็นต์ เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายในระดับที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้เข้ารับการส่งเสริมความรู้และ    ใช้สมุนไพรรางจืดในการขับสารพิษออกจากร่างกาย ผลจากการตรวจคัดกรองฯครั้งที่ 2 มีเกษตรกรผู้เข้าร่วมตรวจคัดกรองฯ      ทั้งสิ้น 79 คน มีระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายในระดับ ปกติ 21 คน ปลอดภัย 33 คน มีความเสี่ยง 19 คน และ      ไม่ปลอดภัย 6 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ พบว่า ปกติ 27 เปอร์เซ็นต์ ปลอดภัย 42 เปอร์เซ็นต์ มีความเสี่ยง 24 เปอร์เซ็นต์ และไม่ปลอดภัย 7 เปอร์เซ็นต์ จากผลการตรวจคัดกรองฯ ทั้งสองครั้ง พบว่าปริมาณสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายเกษตรกรตำบลม่วงงามลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ จึงสมควรต่อยอดโครงการคัดกรองฯ ไปสู่ผู้บริโภคผักและผลไม้ในตำบลม่วงงาม

    ดังนั้นผู้บริโภคควรได้รับการส่งเสริมความรู้และตระหนักถึงภัยของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างอยู่ในผักและผลไม้        เพื่อมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น ลดสารพิษที่ตกค้างในร่างกายได้ เทศบาลเมืองม่วงงาม มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552 มาตรา 54 (7) จัดทำกิจการซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2549 มาตรา 16 (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล เทศบาลเมืองม่วงงามร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคตำบลม่วงงาม ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้บริโภคผักและผลไม้มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น ไม่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในร่างกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินงานโครงการ
  2. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้บริโภคมีความรู้และตระหนักถึงภัยของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่ในผักและผลไม้
  2. ผู้บริโภคมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น ลดสารพิษที่ตกค้างในร่างกายได้
  3. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายของผู้บริโภคผักและผลไม้ในตำบลม่วงงาม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้บริโภคผักและผลไม้มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น ไม่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในร่างกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการพบสารเคมีตกค้างในร่างกายลดลง
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้บริโภคผักและผลไม้มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น ไม่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในร่างกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินงานโครงการ (2) เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกายผู้บริโภคผักและผลไม้ตำบลม่วงงาม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสาน เหล๊าะเหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด