กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายพรอนันต์ วงษ์สีมาอนันต์

ชื่อโครงการ โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5300-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5300-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,215.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาเสพติดถือเป็นปัญหาใหญ่ของเด็กและเยาวชน และยาเสพติดชนิดแรกที่หลายคนเริ่มจะลอง คือ บุหรี่ บุหรี่เป็นยาเสพติดที่อันตรายมากชนิดหนึ่งซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้เสพและคนรอบข้าง ซึ่งจากผลวิจัยบ่งชี้ชัดเจนว่าบุหรี่มีสารที่ทำให้เกิดการเสพติด คือ นิโคติน และทำให้เกิดโรคมะเร็งกล่องเสียงมะเร็งปอด จากข้อมูลผลการสำรวจจำนวนเด็กและเยาวชนอายุ 10 – 15 ปี โดยวิธีการสุ่มในเขตเทศบาลตำบลคลองขุด พบว่ามีจำนวนผู้สูบบุหรี่ร้อยละ 40 และเริ่มลองบุหรี่ร้อยละ 20 ปัจจัยที่มีการส่งเสริมให้เริ่มสูบบุหรี่
1. ความอยากลอง เพราะธรรมชาติของวัยรุ่นมีความอยากลองเป็นเรื่องที่ท้าทาย น่าตื่นเต้น และสนุกสนาน ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
2. ตามอย่างเพื่อนหรือเพื่อนชวนมีเจตคติที่ว่าถ้าไม่สูบบุหรี่จะเข้ากับเพื่อนไม่ได้ เพื่อนจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม
3. ตามอย่างคนในบ้านเพราะเห็นคนในบ้านสูบมาตั้งแต่เด็ก จึงคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา
4. เพื่อเข้าสังคม ซึ่งมีผู้สูบในสังคมนั้นๆเชิญชวนให้สูบบางคนจะสูบเฉพาะในงานสังคมเท่านั้น ทั้งนี้เป็นความเชื่อถ้าไม่สูบจะเข้ากลุ่มไม่ได้และทำธุรกิจไม่สำเร็จ
5. ความเครียด สารนิโคตินในควันบุหรี่เมื่อสูดเข้าร่างกาย ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดแดงหดรัดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็วขึ้น และกระตุ้นสมองส่วนกลาง ทำให้รู้สึกผ่อนคลายในระยะต้น แต่เมื่อปริมาณนิโคตินในสมองลดลงจะทำให้ผู้สูบเกิดอาการหงุดหงิดเป็นเหตุผลที่ทำให้ต้องสูบบุหรี่อยู่เสมอเพื่อคงระดับนิโคตินในร่างกาย
6. กระแสของสื่อโฆษณาต่างๆ สามารถก่อให้เกิดแรงจูงใจที่จะเชื่อและนิยมชมชอบให้เกิดการอยากลองสูบบุหรี่ จากความเป็นมาและปัญหาข้างต้นแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเยาวชนในเขตเทศบาลตำบลคลองขุดยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในเรื่องอันตรายและโทษของบุหรี่เทศบาลควรจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความหลากหลายและจัดกิจกรรมป้องกันเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันจากสิ่งยั่วยุ อบายมุขอย่างต่อเนื่อง


ในการนี้ กองการศึกษา เทศบาลตำบลคลองขุด มีหน้าที่ในการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และห่างไกลจากสารเสพติดและบุหรี่ ตลอดจนให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นคนดีของสังคมและประเทศชาติ จึงควรจัดให้มีโครงการ“วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  2. เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน
  3. เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมวัยรุ่นวัยใสปลอดบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้นำศาสนา 10
แกนนำชุมชน 21

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถดูแลสุขภาพหลีกเลี่ยงป้องกันภัยจากบุหรี่ได้ จำนวน 70 คน 2. ผู้เข้าอบรม มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อ การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ จำนวน 70 คน


ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าอบรมสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อ การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ 2. มีแกนนำเครือข่ายเยาวชนในการขับเคลื่อนในโรงเรียนปลอดบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมวัยรุ่นวัยใสปลอดบุหรี่

วันที่ 19 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเตรียมสื่อ เอกสารและอุปกรณ์ประกอบการดำเนินกิจกรรม 2.จัดกิจกรรมอบรมวัยรุ่นวัยใสปลอดบุหรี่ จัดกิจกรรมรณรงค์วัยรุ่นวัยใสปลอดบุหรี่รายละเอียดตามกำหนดการที่แนบ (เอกสารแนบ 1) 3.กิจกรรม“ รณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ ”ในชุมชน 4.สรุปและประเมินผลโครงการ พร้อมรายงานผลต่อกองทุนสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถดูแลสุขภาพหลีกเลี่ยงป้องกันภัยจากบุหรี่ได้ จำนวน 70 คน 2. ผู้เข้าอบรม มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อ การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ จำนวน 70 คน ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าอบรมสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อ การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ 2. มีแกนนำเครือข่ายเยาวชนในการขับเคลื่อนในโรงเรียนปลอดบุหรี่

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองการศึกษา เทศบาลตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการวัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่ งบประมาณ 45,215 บาท
โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กและเยาวชนอายุ 10 – 15 ปี โดยวิธีการสุ่มในเขตเทศบาลตำบลคลองขุด พบว่ามีจำนวนผู้สูบบุหรี่ร้อยละ 40 และเริ่มลองบุหรี่ร้อยละ 20 ซึ่งมีปัจจัยที่มีการส่งเสริมให้เริ่มสูบบุหรี่ ดังนี้ 1. ความอยากลอง เพราะธรรมชาติของวัยรุ่นมีความอยากลองเป็นเรื่องที่ท้าทาย น่าตื่นเต้น และสนุกสนาน ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
2. ตามอย่างเพื่อนหรือเพื่อนชวนมีเจตคติที่ว่าถ้าไม่สูบบุหรี่จะเข้ากับเพื่อนไม่ได้ เพื่อนจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม
3. ตามอย่างคนในบ้านเพราะเห็นคนในบ้านสูบมาตั้งแต่เด็ก จึงคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา
4. เพื่อเข้าสังคม ซึ่งมีผู้สูบในสังคมนั้นๆเชิญชวนให้สูบบางคนจะสูบเฉพาะในงานสังคมเท่านั้น ทั้งนี้เป็นความเชื่อถ้าไม่สูบจะเข้ากลุ่มไม่ได้และทำธุรกิจไม่สำเร็จ
5. ความเครียด สารนิโคตินในควันบุหรี่เมื่อสูดเข้าร่างกาย ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดแดงหดรัดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็วขึ้น และกระตุ้นสมองส่วนกลาง ทำให้รู้สึกผ่อนคลายในระยะต้น แต่เมื่อปริมาณนิโคตินในสมองลดลงจะทำให้ผู้สูบเกิดอาการหงุดหงิดเป็นเหตุผลที่ทำให้ต้องสูบบุหรี่อยู่เสมอเพื่อคงระดับนิโคตินในร่างกาย
6. กระแสของสื่อโฆษณาต่างๆ สามารถก่อให้เกิดแรงจูงใจที่จะเชื่อและนิยมชมชอบให้เกิดการอยากลองสูบบุหรี่ จากความเป็นมาและปัญหาข้างต้นแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเยาวชนในเขตเทศบาลตำบลคลองขุดยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในเรื่องอันตรายและโทษของบุหรี่เทศบาลควรจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความหลากหลายและจัดกิจกรรมป้องกันเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันจากสิ่งยั่วยุ อบายมุขอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
1.00 2.00 70.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)
5.00 4.00 4.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)
15.00 12.00 12.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 101 101
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้นำศาสนา 10 10
แกนนำชุมชน 21 21

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน  (2) เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน  (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมวัยรุ่นวัยใสปลอดบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ วัยรุ่นวัยใส ปลอดบุหรี่ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5300-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรอนันต์ วงษ์สีมาอนันต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด