กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ




ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 101,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือที่เรียกว่าการเข้าสุนัต เป็นหลักปฏิบัติที่สืบเนื่องมาจากท่านศาสดามุฮัมมัด เป็นสิ่งที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาทางวัฒนธรรมและศาสนาเป็นเวลานานมาแล้ว การขลิบเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมุสลิมชาย เนื่องจากการศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆนี้พบว่าการตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายนั้นมีผลดีทางการแพทย์บางอย่าง เช่น โอกาสที่จะติดโรคทางเดินปัสสาวะน้อยมาก เด็กที่ไม่ได้ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จะมีโอกาสไตอักเสบเป็น 10 เท่าของเด็กที่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การทำงานของไตและการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติสามารถเกิดขึ้นกับการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะได้ นอกจากนี้แล้วการติดเชื้อแบคทีเรียจากสิ่งสกปรกที่หมักหมมอยู่ภายใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายก็อาจนำไปสู่การติดเชื้อของไตได้เช่นกัน
ผู้ชายที่เข้าสุนัตแทบจะไม่เป็นมะเร็งที่อวัยวะเพศเลย การติดเชื้อที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถเกิดขึ้นกับผู้ชายที่ไม่เข้าในอายุเท่าใดก็ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นในตอนอายุ 2 - 5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายยังแยกไม่หมด ดังนั้นจึงไม่สามารถถลกให้เปิดออกได้เต็มที่เพื่อทำความสะอาด นอกจากนั้นแล้วเด็กเองก็ไม่สามารถทำความสะอาดให้ตัวเองได้และในที่สุดก็จะต้องไปตัดออกในตอนหลังซึ่งเสียค่าใช้จ่ายแพง ด้วยเหตุนี้ การทำให้แก่เด็กตั้งแต่เกิดมาจึงทำให้สามารถรักษาความสะอาดได้ตลอดชีวิต การศึกษายังแสดงให้เห็นว่าคนที่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายมีอัตราเสี่ยงต่อการติดโรคทางเพศน้อยมาก ส่วนผู้ชายที่ไม่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายนั้นจะมีโอกาสติดเชื้อมากกว่าเพราะในระหว่างการมีความสัมพันธ์ทางเพศนั้น หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสามารถถลอกหรือเป็นแผลเล็กๆที่ทำให้เชื้อไวรัสเข้าไปในบาดแผลนั้นได้ เป็นที่คาดกันว่าหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายอาจจะปล่อยให้ไวรัสและเชื้อโรคอื่นๆสามารถอยู่รอดได้ยาวนานกว่าที่อยู่ข้างนอกและมีเวลามากกว่าที่จะเข้าไปในร่างกาย เมื่อเร็วๆนี้มีการพบว่าเซลล์บางอย่างในหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสามารถที่จะดักไวรัสเอชไอวีและทำให้เกิดการติดเชื้อได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (Bleeding)
  2. 2. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรค และลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพตามหลักการแพทย์ปัจจุบันให้กับเด็กและเยาวชน
  4. 4. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพให้กับผู้ดูแลเด็ก(ผู้ปกครอง)ที่เข้าร่วมโครงการฯ
  2. 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กและเยาวชนได้รับการทำ (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง)และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ในการป้องกันโรคติดเชื้อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เนื่องด้วยได้มีสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(Covid-19) ซึ่งระบาดขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – สิงหาคม 2563 ส่งผลกระทบให้ไม่สามารถดำเนินการจัดโครงการได้ตามปกติ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid -19) ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงขอส่งคืนเงินจำนวน 101,050 บาท (เงินหนึ่งแสนหนึ่งพันห้าสิบบาทถ้วน) เข้าบัญชีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(เทศบาลสะเตงนอก)บัญชีเลขที่ 010612836054

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (Bleeding)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรค และลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพตามหลักการแพทย์ปัจจุบันให้กับเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (Bleeding) (2) 2.  เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) 3.  เพื่อเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรค และลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพตามหลักการแพทย์ปัจจุบันให้กับเด็กและเยาวชน (4) 4.  เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพให้กับผู้ดูแลเด็ก(ผู้ปกครอง)ที่เข้าร่วมโครงการฯ (2) 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด