กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2560

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 3 : แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ(สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน  ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า ปีงบประมาณ 2560 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชุมพล 1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  : 
-  จากการตรวจคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน  158 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 125  คน
-  จากการตรวจคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน  94 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 93  คน
- กลุ่มเสียงได้รับการรอบรม ความรู้ตามหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส.และทักษะอื่นๆตามภาวะเสี่ยงจำนวน 30 คน
- กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /ผู้ดูแลได้รับการรอบรม ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนจำนวน 30 คน
ผลตัวชี้วัด 1. -  กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 218 คน ร้อยละ 86.50 2. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีระดับความดันอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6
เดือน จำนวน 20 คน ร้อยละ 21.50 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6
เดือน จำนวน 44 คน ร้อยละ 35.20 4. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน  4 คน ร้อยละ 9.05 / โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 1 คน ร้อยละ 5 5. หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/เครือข่ายสุขภาพ. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต(เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด เข็มเจาะน้ำตาลในเลือด  สำลี แอลกอฮอล์) - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิ้ล) กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - การสำรวจปัญหา


  • การของบประมาณสนับสนุน


  • ประชาสัมพันธ์ในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย - จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
  • ประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุมพล หนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย การจัดเวทีประชาคม


การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ - อสม. - ผู้รับผิดชอบงาน - โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ 1

  • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนฯ

  • กลุ่มเสี่ยงจำนวน 30 คน

  • กลุ่มป่วย/ผู้ดูแล 30 คน กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน
  • จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย/ผู้ดูแล





    กลุ่มเสี่ยงที่ไม่ได้เข้ารับการอบรม
  • การประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ








    คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค

    • คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการตรวจคัดกรอง ตามเกณท์
  • จัดอบรมกลุ่มเสี่ยง ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
  • จัดอบรมกลุ่มป่วย/ผู้ดูแล ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
  • ติดตามให้ความรู้และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่บ้าน -ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆเช่น คำแนะนำ/ปรึกษา แจกเอกสาร/แผ่นพับประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว
  • ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อประเมินความก้าวหน้า ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน เดือนที่3 เดือน และ เดือนที่ 6
  • ดำเนินการตามกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค


    -วิทยากรจากรพ.สต.

  • วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิ้ล)





  • จนท.ที่รับผิดชอบหมู่บ้าน/อสม
  • ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต  สายวัด





แบบประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ .








พบกลุ่มเสี่ยงที่มี - ระดับความดันโลหิต ลดลง จำนวน 20 คน ร้อยละ 21.51 -ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง จำนวน 44 คนร้อยละ 35.20 - ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ35.60 ควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ร้อยละ42.35 - ทางรพ.สต.ได้คัดเลือกหมู่ที่ 2 บ้านวัดกระชายทะเลเป็นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ - สรุปผลการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯตามแบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ระดับดี 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  250 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... 9,000 บาท (เก้าพันบาทถ้วน) งบประมาณเบิกจ่ายจริง .......9,000........................ บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100.................... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0................... 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี -  อสม.บางคนขาดความมั่นใจในการให้คำแนะนำ ตามหลัก 3อ.2ส เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ -  กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ทั้งวัน ไม่ค่อยเข้าใจในเนื้อหาและผู้ดูแลไม่ได้เข้ารับการอบรม
- การร่วมกิจกรรมของกลุ่มเสี่ยงและการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ให้บริการขาด ความต่อเนื่องจากภาระงาน และไม่สามารถตรวจติดตามค่าน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้ทุกครั้ง (1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน) เนื่องจากขาดวัสดุอุปกรณ์ - การดำเนินงานในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคประชาชนไม่ค่อยให้ความสำคัญมาตรการ ทางสังคมช่วยไม่ได้เกิดจากความต้องการของคนส่วนใหญ่ จึงไม่ได้มีการปฎิบัติตาม

5.  ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง - การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - มีมาตรการทางสังคมที่เกิดจากความต้องการของคนส่วนมาก ไม่ว่าจะเป็นในเชิงบวกหรือเชิงลบ


ผู้รายงาน (นางเจียมจิตต์ ณะกะมุสิก) ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ วันที่-เดือน-พ.ศ. 23  ตุลาคม 2560

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อลดการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย 3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ ในระดับปกติหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6 เดือน มากกว่าร้อยละ 25 3. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 5 / โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 10 4. หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผ่านเกณฑ์หมู่บ้าน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดี

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. เพื่อลดการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานรายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย
3. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านเป้าหมายให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอดเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh