กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  :           
    • ร้านค้า แผงลอยได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 3  ร้าน
    • ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในโรงเรียน และ อสม. หรือแกนนำชุมชนได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 80 คน
      ผลตัวชี้วัด :

- ร้านค้า แผงลอยได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร จำนวน  3  ร้าน ร้อยละ  100 - ร้านค้า แผงลอยผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน 3 ร้าน ร้อยละ 100 - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในโรงเรียน และ อสม. หรือแกนนำชุมชน ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 80 คน และมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 95 ของเป้าหมาย ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครอง อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในโรงเรียน และ อสม. หรือแกนนำชุมชน - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจสารเคมีตกค้างในตัวอย่างอาหาร (น้ำยาSI-2 ป้ายรับรองมาตรฐาน , แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร) - บุคลากร/วัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ( เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : ร้านค้า แผงลอย โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย มากกว่าร้อยละ 90

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร และมีความรู้เพิ่มขึ้น มากกว่า ร้อยละ 90 ของเป้าหมาย

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนให้เข็มแข็ง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย (3) ข้อที่ 3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนให้เข็มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh