โครอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเอง
ชื่อโครงการ | โครอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเอง |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศสมช บ้านโพธิ์ |
วันที่อนุมัติ | 5 มีนาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2563 - 14 สิงหาคม 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 47,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ศสมช บ้านโพธิ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายกำพล เศรษฐสุข |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 COVID - 19 ปัจจุบันได้มีการแพร่กระจายไปทั้วโลก ในหลายๆประเทศรวมถึงประเทศไทย ที่ขณะนี้มีผู้ป่วย 443 ราย และเสียชีวิต 1 ราย อีทั้งกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคดังกล่าวเป็นโรคติดต่ออันตราย ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ทำให้ประชาชนในพื้นที่ เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ตำบลปากพะยูน และพื้นที่ใกล้เคียงเกิดความวิตกกังวลเป็นอย่างมาก อีกทั้งขณะนี้ หน้ากากอนามัยก็ค่อนข้างหายากมาก เพ่อลดความวิตกกังวัล จึงจำเป็นต้องให้ประชาชน ทราบถึงวิธีการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 2019 COVID - 19 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคในวงกว้าง ดังนั้น คณะอาสาสมัครสาธาณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์ ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ไดเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี 2563 ขึ้นเพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่อโรคไวรัสโคโรนา 2019 ให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 ).ให้กับประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ90 ของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) |
1.00 | |
2 | ประชาชนสามารถจัดทำหน้ากากอนามัยเอง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ในพื้นที่ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) |
1.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 มี.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 | อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | 0 | 32,520.00 | - | ||
1 มี.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 | การตรวจคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง และติดตามกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียน มัสยิด ชุมชน | 0 | 14,480.00 | - | ||
รวม | 0 | 47,000.00 | 0 | 0.00 |
1.วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
3.ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน ขั้นตอนดำเนินงาน
-จัดทำแผ่นพับความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 2019 (COVID - 19)
5.จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 2019
6.ฝึกปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโรโรนา 2019
-ทำหน้ากากอนามัยใช้เองด้วยผ้า
7.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 2019 โโยการคัดกรองประชาชนในชุมชนด้วยเทอร์โมสแกน อุณหภูม
8.สรุปผลการดำเนินงาน
1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคโคโรนา 2019 (COVID - 19)
2.ลดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 10:08 น.