กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย
รหัสโครงการ 63-L2496-3-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล
วันที่อนุมัติ 4 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพาซีย๊ะ วาแตลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.382,101.66place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 ก.พ. 2563 30 ก.ย. 2563 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ปี ๒๕๕๙ พบว่า เด็กอายุ ๒-๔ ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๔.๕ ใน พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๔๘  เป็นร้อยละ ร้อยละ 53 ภาคใต้มากพบสูงสุด ร้อยละ 70 พบสาเหตุจากดื่มน้ำหวาน-ขนม แล้วไม่แปรงฟันก่อนนอน ยกเป็น 1 ใน 10 ปัญหาสุขภาพ ขณะเดียวกันมีเด็กเข้าถึงบริการเพียงร้อยละ 30 กระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการ ซึ่งทำให้การบริการเพิ่มมากขึ้น คือ การมีบริการเคลือบหลุมร่องฟันเป็นบริการในชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กมารับบริการเพิ่มมากขึ้นจากการประชาสัมพันธ์การเคลือบหลุมร่องฟัน ในโครงการยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี ซึ่งเป็นผลกระทบที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจในการรับบริการมากขึ้น เนื่องจากโครงการได้สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้นการดูแลสุขภาพทางด้านอนามัยของช่องปากและฟันถือเป็นการดูแลในลำดับต้นๆ ซึ่งในเรื่องของทันตสุขภาพของเด็กในจังหวัดภาคใต้ตอนล่างอยู่ในลำดับท้ายๆ พบว่าเด็กมีปัญหาฟันผุเกือบร้อยเปอร์เซ็นเต็ม         ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัลหูดา จึงได้จัดทำโครงการทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ ๒๕๖3 ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัย ช่องปากของตนเองและส่งเสริมกิจกรรมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อจัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัยเรียน

จัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัยเรียน

80.00
2 ๒. เพื่อให้บริการทันตกรรม การตรวจฟัน, complete case และเคลือบหลุมร่องฟันเด็กนักเรียนก่อนวัยเรียน

ให้บริการทันตกรรม การตรวจฟัน,  complete  case และเคลือบหลุมร่องฟันเด็กนักเรียนก่อนวัยเรียน

50.00
3 ๓. เพื่อให้บริการทันตกรรมเด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุก่อนเวลาอันควร

เพื่อให้บริการทันตกรรมเด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุก่อนเวลาอันควร

80.00
4 ๔.เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคและรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

๔ส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภคและรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

82.00
5 ๕.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงการมีทันตสุขภาพที่ดีของเด็กตั้งแต่เยาว์วัย

๕.ผู้ปกครองตระหนักถึงการมีทันตสุขภาพที่ดีของเด็กตั้งแต่เยาว์วัย

82.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 82 10,000.00 1 10,000.00
4 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมอบรมทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย 82 10,000.00 10,000.00

วิธีดำเนินการ ๑. ขั้นเตรียมการ ๑.๑ เสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ๑.๒ ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ๑.๓ จัดเตรียมสื่อ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ ๑.๔ แต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน สรุปผลงาน ๒ ครั้ง/ปี ๒.ขั้นดำเนินการ กิจกรรมดำเนินงานที่ ๒.๑ ศูนย์สุขภาพชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดำเนินงานติดตามและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ในสถานศึกษาหลังอาหารกลางวันทุกวัน ซึ่งสถานศึกษามีบทบาทหลักในการจัดสถานที่และน้ำที่ใช้ในการแปรงฟัน จัดหาและจัดเก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน จัดกิจกรรมแปรงฟันอย่างเป็นระบบ และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการแปรงฟัน เช่น การตรวจความสะอาดช่องปากอย่างสม่ำเสมอ  การฝึกทักษะการแปรงฟัน  การจัดการเรียนรู้  เรื่อง การดูแลทันตสุขภาพ  เพื่อ และสร้างเจตคติที่ดีให้แก่เด็ก ฯลฯ ภายใต้การสนับสนุนทางด้านวิชาการ บริหารจัดการ และทรัพยากรที่จำเป็นจากสถานบริการสุขภาพ กิจกรรมดำเนินงานที่ ๒.๒ การพัฒนาทีมงาน เพื่อให้มีเจตคติ และทักษะในการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนร่วมกับครอบครัวและชุมชน ๓.ขั้นประเมินผล ๑. การรายงานผลการปฏิบัติงานรายเดือน
๒. รายงานการให้บริการทันตกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ๒. เด็กนักเรียนก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุและปัญหาเร่งด่วน ได้รับบริการทันตกรรมและแก้ไขปัญหา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 10:10 น.