กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563 ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายมนะ โสสนุย ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63 - L8009-05-05 เลขที่ข้อตกลง 002/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2563 ถึง 20 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63 - L8009-05-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2563 - 20 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโควิด 19 (COVID -19) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563และทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั้งสิ้น 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จำนวน 582 ราย รวมมีผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน 67,088 ขณะนี้ มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางในประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางในประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 33 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต (ข้อมูลจาก รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโควิด 19 (COVID -19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีไวรัสโควิด 19 (COVID 19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563
    ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 มาตรา 50 (4) เทศบาลตำบลทุ่งหว้ามีหน้าที่ในกี่ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (19) การสาธารณสุขการอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาลดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลทุ่งหว้า จึงได้จัดทำโครงการอบรมมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID) และการจัดทำหน้ากาอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (จลล้างมือ) เพื่อการป้องกันตนเองเป็นการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องไวรัสโรนา 19 (COVID 19) ให้แก่บุคคลเทศบาล ผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน อสม. จตอาสา และประชาชนในพื้นที่ โดยมุ่งหวังว่าผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (จลล้างมือ)ไว้ใช้เอง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา19 (COVID -19) ให้กับประชาชนในพื้นที่
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจำทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) ไว้ใช้เองได้
  3. ข้อ 3 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้การแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมหลัก -อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา มีอาการอย่างไร มีวิธีการป้องกันตนเองจากโรคอย่างไร 2.กิจกรรมย่อย -กิจกรรมฝึกปฏิบัติการทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) เพื่อป้องกันโรคไวรัสโคโรนา20

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 ZCOVID -19) สามารถจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (จลล้างมือ) เพื่อป้องกันตนเอง ลดผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนและวงกว้างต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมหลัก -อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา มีอาการอย่างไร มีวิธีการป้องกันตนเองจากโรคอย่างไร 2.กิจกรรมย่อย -กิจกรรมฝึกปฏิบัติการทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) เพื่อป้องกันโรคไวรัสโคโรนา20

วันที่ 25 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ บุคลากรด้านสาธารณสุข เพื่อขอรับการแนะนำสนับสนุนเจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการ ตามโครงการ
3.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบและวางแผนการดำเนินงาน 4.สำรวจจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการอบรม 5.จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน ได้รับความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID – 19) 6.ฝึกปฏิบัติการทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID - 19)
7.รณรงค์ประชาสัมพันธ์รถแห่ เสียงตามสาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น จำนวน 60 คน ประกอบด้วย บุคลากรเทศบาล ผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน อสม.จิตอาสา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 60 คน ได้รับความรู้จากวิทยากร - นาบอับดุลเลาะฮ์ บารอยี เจ้าพนักงานสาธารณสุข ชำนาญการ จากองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลงให้ความรู้เรื่องสถาณการณ์โคโรน่า 2019 (COVID - 19) ในปัจจุบัน โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 คืออะไร มีอาการอย่างไร และวิธีการป้องกันตนเองอย่างไร และวิธีการป้องตนเองอย่างไร ซึ่งผู้เข้าประชุมได้รับความรู้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ตลอดจนรู้จักวิธีการล้างมือที่ถูกวิธี และการใส่และถอดหน้ากากอย่างถูกต้องต้องสามารถป้องกันตนเองได้ -นางสาวอารีวรรณ ไชยรักษ์ เภสัชกร ชำนาญการ โรงพยาบาลควนกาหลง ให้ความรู็การทำหน้ากากอนามัย เเละการทำหน้ากากฆ่าเชื้อ
ผลที่ได้รับ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมให้ความรู้ โรคติดเชื้อไวรัสโ๕โรนา 2019 พอสรุปได้ดังนี้
-ไวรัสโคโรนยา สายพันธ์ใหม่ 2019 คือโรคติดต่อทางเดินหายใจ ส่งผลที่ให้เกิดโรคปอดอัักเสบ ระบาดครั้งเเรกที่ตลาด south china seafood เมืองฮู่ฮั่น ประเทศจีน จากนั้นเเพร่ระบาดไปหลายพื้นที่ในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ มีการแจ้งเตือนในไทย ระดับที 3 หลีกเลี่ยงการเดินทาง  อาการสำคัญ มีไข้ ไอ จาม หายใจเหนื่อย หอบ
การป้องกัน -ควรหลีกเลี่ยงการเดินทางไปพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค -หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด - ไม่ควรคลุกคลีกับผู้ป่วย
- สวมใส่หน้ากากอนามัย
- ไม่สัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดกับสัตว์โดยเฉพาะที่ป่วยหรือตาย - หมั่นล้างมือด้วยน้ำหรือสบู่หรือล้างด้วยยแอลกอฮอล์ล้างมือ - ไม่ใช้ช้อนส่วนตัวรวมกับผู้อื่น
- รักษาร่างกายให้อบอุ่น นอนหลับพัผ่อนให้เพียงพอ -มีอาการรีบพบแพทย์
- ผู้เข้าร่่วมอบรมทืี่ได้รับจากการทำหน้ากากอนามัยป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ป้องกันตนเองและคนรอบข้างได้ -ผู้เข้าร่วมอบรมนำความรู้ที่ได้รับจาการทำน้ำยาฆ่าเชื้อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนยา 2019 ป้องกันตนเเละคนรอบข้างได้ -สามสามารถล้างมือที่ถูกวิธี ป้องกันตนเองได้ -สามารถสวมใส่ และ ถอดหน้ากากอนามัยที่ถูกวิธีและสามารถป้องกันตนเองได้ -สามารถสวมใส่ และ ถอดหน้ากากอนามัยที่ถูกวิธีและสามารถป้องกันตนเองได้ -มีความสามารถทำหน้ากากอนามัยใช้เองได้ - มีความสามารถทำน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับผิวหนังใช้เองได้
-มีความสามารถน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับเช็ดถูวัสดุอุปกรณ์ใช้เองได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา19 (COVID -19) ให้กับประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ สามารถป้องกันตนเองเรื่องไวรัสโคโรนา 19 และสามารถจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ(จลล้างมือ) ไว้ใช้เองได้
10.00 0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจำทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) ไว้ใช้เองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ในพื้นที่ไม่มีการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19
10.00

 

3 ข้อ 3 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้การแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชน ไม่มีการแพร่ระบาดจากเชื้อไวรัส โคโรนา 19
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา19 (COVID -19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจำทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) ไว้ใช้เองได้ (3) ข้อ 3 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้การแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมหลัก -อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา มีอาการอย่างไร มีวิธีการป้องกันตนเองจากโรคอย่างไร  2.กิจกรรมย่อย -กิจกรรมฝึกปฏิบัติการทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ (เจลล้างมือ) เพื่อป้องกันโรคไวรัสโคโรนา20

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563

รหัสโครงการ 63 - L8009-05-05 รหัสสัญญา 002/2563 ระยะเวลาโครงการ 10 มีนาคม 2563 - 20 มีนาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดทำหน้ากากอนามัย/น้ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันตนเอง ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63 - L8009-05-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนะ โสสนุย ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด