กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ Pulakong Smart Mom 2 Smart Kids
รหัสโครงการ 63-L3039-1-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง
วันที่อนุมัติ 6 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 40,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางแวมารีณี มะแซ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.782,101.353place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสมตลอดจนครอบครัวมีความรู้และมีบทบาทสำคัญในการร่วมมือให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น > ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมารดาตายในระหว่าคลอดและหลังคลอด
  1. ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ > ร้อยละ 80
  2. โลหิตจาง น้อยกว่าร้อยละ 10 ใน Lab ครั้งที่ 1
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 80
  4. มารดามีบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี น้อยกว่าร้อยละ 7
0.00
3 เพื่อให้ทารกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
  1. อัตรามารดาคลอดที่สถานบริการสาธารณสุข/โรงพยาบาล ร้อยละ 95
  2. น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม น้อยกว่าร้อยละ 7
  3. อัตรามารดาเสียชีวิตหลังคลอด 18/1000 LB
0.00
4 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี เป็นเด็กปัตตานีเด็ก Smart Kids

เด็ก 0-5 ปี เกณฑ์ Smart kids มากกว่าร้อยละ 60

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 40,250.00 0 0.00
6 ม.ค. 63 - 31 ก.ค. 63 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ"การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร" (ในวัยรุ่น/วัยเรียน) แก่กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 12-15 ปี (โดยแบ่งกลุ่มเรียนรู้ตามโซน Walk rally) 50 12,250.00 -
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติในหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ ครั้งที่ 1 และการดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์(3ครั้ง/ปี) 0 5,200.00 -
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรม"ใกล้บ้านใกล้ใจ ดูแลห่วงใยสุขภาพแม่และเด็ก" 0 0.00 -
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรม "smart mom 2 smart kids" 0 14,650.00 -
6 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรม "พบปะผู้ปกครองเพื่อการเรียนรู้เรื่องวัคซีน" 0 8,150.00 -
  1. จัดประชุมทีมสุขภาพ และอาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้านเพื่อร่วมกันค้นหา แนวทางการปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก ในปีงบประมาณที่ผ่านมา
  2. จัดทำโครงการเสนอขอนุมัติ
  3. ประชาสัมพัธ์โครงการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตามมัสยิด และในชุมชนทั้งตำบลปุลากง
  4. ดำเนินการตามกิจกรรมโครงการดังนี้ 4.1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ "การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันคาร" (ในวัยรุ่น/วัยเรียน) แก่กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 12-25 ปี (จำนวน 60 คน) 4.2 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติ ในหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ ครั้งที่ 1 และการดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์ (4 ครั้ง/ปี , จำนวน 100 คน) 4.3 จัดกิจกรรม"ใกล้บ้านใกล้ใจ ดูแลห่วงใยสุขภาพแม่และเด็ก" ในกลุ่มหญิงหลังคลอด 4.4 จัดกิจกรรม "Smart mom 2 Smart kids" ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และกลุ่มเด็ก 0-5 ปี 4.5 จัดกิจกรรม "พบปะผู้ปกครองเพื่อการเรียนรู้เรื่องวัคซีน" ในกลุ่มผู้ปกครองที่บ่ายเบี่ยงเรื่องวัคซีน
  5. ประเมินผลโครงการและสรุปรายงานผลการดำเนินงานให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและกองทุนตำบลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครอบครัว ชุมชน และเครือข่ายองค์กรทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จ มีคุณภาพและยั่งยืน รวมถึงหญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลในระยะการตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอดอย่างมีคุณภาพ และในรายที่มีความเสี่ยงได้รับการส่งต่อไปยังสถานบริการของรัฐตามมาตรฐานการส่งต่อ ตลอดจนส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้คลอดกับสถานพยาบาลของรัฐมากขึ้น เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนขั้นพื้นฐาน และสุขภาพช่องปาก ตามนโยบายของปัตตานี คือ เด็กปัตตานี เด็ก smart kid (PSK) ต่อไป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 15:09 น.