กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์น้ำท่วมหรือภัยพิบัติหรือเฝ้าระวังควบคุมโรคระบาดรุนแรง
รหัสโครงการ 63-L8017-5-22
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 18 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 กันยายน 2562 - 25 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 9 กันยายน 2563
งบประมาณ 130,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรรณรัตน์ อาจสมโภช
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุภาพ ภักดี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.776,99.632place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8400 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙)ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั้งสิ้น 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จำนวน 582 ราย รวมมีผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน 67,088 ขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรคสำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 33 ราย ยังไม่พบผู้เสียชีวิต (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14กุมภาพันธ์ 2563) ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ บุคลากรในสังกัดเทศบาลตำบลห้วยยอดอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจเขตในพื้นที่ความรับผิดชอบ และดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการยับยั้งสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. ในการจัดทำหน้ากากอนามัยในพื่้นที่อปท.

บุคลากรในสังกัดเทศบาล และผู้นำชุมชน อาสาสสมัครในพื้นที่ (อสม.) กลุ่มสตรี ผู้สูงอายุ จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ สามารถจัดทำหน้ากากอนามัยด้วยตนเองได้ ร้อยละ 100

90.00
2 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง

ประชาชนในพื้นที่รู้วิธีการป้องกันโรคระบาด ร้อยละ 90

90.00
3 3.เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้ในครัวเรือนได้ ร้อยละ 90

100.00
4 4.เพือสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ประชาชนในพื้นที่มีการตื่นตัวในการป้องกันการติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 90

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 8600 24,525.00 2 17,582.00
5 - 17 มี.ค. 63 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเอง 100 20,000.00 13,057.00
27 มี.ค. 63 - 3 เม.ย. 63 กิจกรรมจัดซื้อเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ - ผลิตภัณฑ์ฟอกขาว(ไฮเตอร์) 8,500 4,525.00 4,525.00

1.เรียงลำดับตามเวลา 2.จำแนกตามกลุ่มกิจกรรม 3.จำแนกตามวัตถุประสงค์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

วิทยากรหรือทีมครู ก.จาก “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเอง”ซึ่งประกอบด้วย ผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ 2. ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. มีความรู้และทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ตลอดจนสามารถสอนวิธีการจัดทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่สนใจ 3. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง 4. เพื่อกระตุ้นให้แต่ละพื้นที่ตระหนักเห็นความสำคัญ และรวมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 5. เกิดการประสานงาน และความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 15:56 น.