กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) โดยมีมาตรการการควบคุมป้องกันโรคทางระบาดวิทยาที่มีมาตรฐานและมาตรการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ (2) การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษาระยะห่าง (Social Distancing) (3) การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (4) ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ข้อมูลทางวิชาการให้มีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังและการควบคุมป้องกันโรคตามหลักระบาดวิทยา และมาตรการที่กำหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ทั้งในเรื่องการสื่อสารการเฝ้าระวังการป้องกันโรคและดำเนินการตามมาตรการทางปฏิบัติที่จะควบคุมการแพร่ระบาดของโรค (2) การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษ (3) การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (4) ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ใน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ