โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ
พฤษภาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีสาเหตุจากวิถีชีวิตและพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ได้สัดส่วน และบริโภคผักผลไม้ไม่เพียงพอ ความเครียดเรื้อรัง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น โดยประชาชนที่เสี่ยงหรือป่วย ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น หรืออาจเสียชีวิตเฉียบพลัน หรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไตวาย ตาบอด โรคหลอดเลือดสมองตีบและแตก ซึ่งโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน เชิงรุก เน้นการตรวจสุขภาพเชิงรุก ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน เพื่อค้นหากลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วางกลยุทธ์เชิงรุก ในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง และลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติต่อไป อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลรือเสาะ จึงได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุกให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลรือเสาะ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา
- เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง
- เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
- กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้ การตรวจคัดกรอง และออกเยี่ยม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,560
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง
2. 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1560
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,560
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง (3) เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที (4) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงในชุมชน (2) กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้ การตรวจคัดกรอง และออกเยี่ยม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล
พฤษภาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีสาเหตุจากวิถีชีวิตและพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ได้สัดส่วน และบริโภคผักผลไม้ไม่เพียงพอ ความเครียดเรื้อรัง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น โดยประชาชนที่เสี่ยงหรือป่วย ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น หรืออาจเสียชีวิตเฉียบพลัน หรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไตวาย ตาบอด โรคหลอดเลือดสมองตีบและแตก ซึ่งโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน เชิงรุก เน้นการตรวจสุขภาพเชิงรุก ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน เพื่อค้นหากลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วางกลยุทธ์เชิงรุก ในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง และลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติต่อไป อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลรือเสาะ จึงได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุกให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลรือเสาะ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา
- เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง
- เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
- กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้ การตรวจคัดกรอง และออกเยี่ยม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,560 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดต่อและไม่ติดต่อตระหนักต่อปัญหาสุขภาพของตนเอง 2. 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1560 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,560 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการรักษา (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเองและทราบปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัวนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง (3) เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถทำการรักษาได้ทันท่วงที (4) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆ ของกลุ่มสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงในชุมชน (2) กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้ การตรวจคัดกรอง และออกเยี่ยม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนเชิงรุก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ ๖๓-L๘๐๑๓-๒-๐๓
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......