โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายดนเล็บ หมากปาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น
มิถุนายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน
ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5187-02-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5187-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
คณะกรรมการมัสยิดบ้านท่าล้อ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีความห่วงใยต่อการบริโภคอาหารและทานยารักษาโรคให้ปลอดภัยในช่วงเทศกาลถือศีลอด เดือนรอมฎอน เนื่องจากเป็นช่วงที่พี่น้องชาวมุสลิม โดยเฉพาะพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใต้เข้าสู่เทศกาลถือศีลอด ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน และเป็นการยึดหลักความเสมอภาคกัน เทศกาลถือศีลอด ทำให้วิถีชีวิตของชาวมุสลิมในการบริโภคปรับเปลี่ยนไป โดยจะมีการบริโภคอาหารหลัก 2 เวลา คือ มื้อแรกก่อนรุ่งอรุณ และมื้อสองหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้า เพื่อดำเนินกิจกรรมตามหลักศาสนา เช่น การปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามแนวหลักซุนนะฮุเสริมอีมาน เพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร การบริโภคอาหารก่อนละศีลอด เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วย คณะกรรมการมัสยิด บ้านท่าล้อ ตำบลสะพานไม้แก่น มีความห่วงใย ในการเรื่องการดูแลสุขภาพของพี่น้องมุสลิมที่ปฏิบัติศาสนกิจ ในช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน ซึ่งอาจจะเกิดโรคขึ้นได้ในช่วงการถือศีลอด เช่น โรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจจาระร่วงอย่างรุนแรง เป็นต้น
ในการนี้ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพรวมถึงการรับประทานยารักษาโรคต่างๆของพี่น้องชาวมุสลิม เพื่อให้ปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ จึงแนะนะวิธีการดูแลสุขภาพในเดือนรอมฎอน เพื่อระบบสุขภาพที่ดี จึงเป็นบทบาทของทุกคนที่จะให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนาได้ฝึกฝนความอดทนได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคี
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
- ผู้เข้ารับการอบรมมีค่าคงที่ของเกณฑ์การตรวจสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 30 จากการตรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
95.00
2
เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
90.00
3
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
95.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5187-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดนเล็บ หมากปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายดนเล็บ หมากปาน
มิถุนายน 2563
ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5187-02-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5187-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
คณะกรรมการมัสยิดบ้านท่าล้อ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีความห่วงใยต่อการบริโภคอาหารและทานยารักษาโรคให้ปลอดภัยในช่วงเทศกาลถือศีลอด เดือนรอมฎอน เนื่องจากเป็นช่วงที่พี่น้องชาวมุสลิม โดยเฉพาะพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใต้เข้าสู่เทศกาลถือศีลอด ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน และเป็นการยึดหลักความเสมอภาคกัน เทศกาลถือศีลอด ทำให้วิถีชีวิตของชาวมุสลิมในการบริโภคปรับเปลี่ยนไป โดยจะมีการบริโภคอาหารหลัก 2 เวลา คือ มื้อแรกก่อนรุ่งอรุณ และมื้อสองหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้า เพื่อดำเนินกิจกรรมตามหลักศาสนา เช่น การปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามแนวหลักซุนนะฮุเสริมอีมาน เพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร การบริโภคอาหารก่อนละศีลอด เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วย คณะกรรมการมัสยิด บ้านท่าล้อ ตำบลสะพานไม้แก่น มีความห่วงใย ในการเรื่องการดูแลสุขภาพของพี่น้องมุสลิมที่ปฏิบัติศาสนกิจ ในช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน ซึ่งอาจจะเกิดโรคขึ้นได้ในช่วงการถือศีลอด เช่น โรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจจาระร่วงอย่างรุนแรง เป็นต้น
ในการนี้ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพรวมถึงการรับประทานยารักษาโรคต่างๆของพี่น้องชาวมุสลิม เพื่อให้ปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ จึงแนะนะวิธีการดูแลสุขภาพในเดือนรอมฎอน เพื่อระบบสุขภาพที่ดี จึงเป็นบทบาทของทุกคนที่จะให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนาได้ฝึกฝนความอดทนได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคี
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด
- ผู้เข้ารับการอบรมมีค่าคงที่ของเกณฑ์การตรวจสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 30 จากการตรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง |
95.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด |
90.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน |
95.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังกายละศีลอดที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอด (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5187-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดนเล็บ หมากปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......