กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560 ”

รพ.สต.บ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา

ชื่อโครงการ โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 008/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 008/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หากเรามองย้อนกลับสู่อดีตที่ว่าเด็กคืออนาคตของชาติปัญหาสุขภาพเด็กในปัจจุบันได้บั่นทอนเศรษฐกิจสังคมและการเมือง ความก้าวของประเทศชาติลดต่ำลงและด้วยโอกาสในเวทีต่างๆระดับโลก จากการวิเคราะห์ปัญหาสภาวะสุขภาพเด็กที่สำคัญได้แก่ภาวการณ์เจริญเติบโตพัฒนาการสมองการมีภูมิคุ้มกันโรคและปัญหาสุขภาพด้วนทันตกรรม ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะเชื่อมโยงกันไม่ว่าเราจะมองในประเด็นใดๆก็ตามเด็กในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะด้อยกว่าเด็กจากภาคส่วนอื่นๆของประเทศไทยหากเราได้พิจารณาแล้วว่าจริงๆแล้วเรายังขาดความรู้ความเข้าใจตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์คลอดออกมา การเลี้ยงดูบุตรด้วยวิธีการต่างๆหากเราได้ให้ความรู้ปรับทัศนะคติเสียใหม่สร้างความเข้าใจความตระหนักคิดหากจุดเชื่อมโยงของปัญหาเกี่ยวกับเด็กแล้วคาดว่าเราสามารถทำให้เด็กในพื้นที่มีคุณภาพดีขึ้น หนึ่งจากการดำเนินงานทางด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของเด็กในรอบ๖เดือนแรกของปี๒๕๖๐พื้นที่ในส่วนของรพ.สต.บ้านกลางมีผลงานความครอบคลุมดังนี้ ๑.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคร้อยละของเด็กอายุ๑ปีที่ได้รับวัคซีนDTP-HBไม้น้อยกว่าร้อยละ๙๐รพ.สต.บ้านกลางมีผลงานความครอบคลุมร้อยละ๖๔ร้อยละของเด็กอายุ ๓ ปีที่ได้รับวัคซีนJEไม่น้อยกว่าร้อยละ๙๐รพ.สต.บ้านกลางมีผลงานความครอบคลุมร้อยละ๓๘เป็นต้น ๒.การพัฒนาการของเด็กเด็กไทยได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ๙,๑๘,๓๐,๔๒เดือนไม้น้อยกว่าร้อยละ๙๕ผลงานความครอบคลุม ๙๔.๗๔ร้อยละของการตรวจเด็กต้องสงสัยล่าช้าในเด็ก๙,๑๘,๓๐,๔๒เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ๒๐ผลงานความครอบคลุม๑๑.๑๑ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยรวมหลังกระตุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ๘๕ผลงานความครอบคลุม๘๘.๘๙เป็นต้น ๓.ภาวะโภชนาการร้อยละของเด็ก๐-๕ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ๗๐ผลงานความครอบคลุม๖๘.๙๒ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วนไม่เกินร้อยละ๑๐ผลงานความครอบคลุม๑๕.๖๐เป็นต้น ๔.ด้านทันตกรรมเกือบจะทุกคนมีภาวะฟันน้ำนมผุก่อนวัย จากข้อมูลข้างต้นทางรพ.สต.บ้านกลางได้เห็นถึงความสำคัญของสุขภาพเด็กจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กเพื่อต่อไปเด็กจะได้เป็นอนาคตที่ดีของชาติทางรพ.สต.บ้านกลางจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาสุขภาพเด็กและเพิ่มคุณภาพของการมีชีวิตของเด็กในพื้นที่ได้ดีเป็นอย่างสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กแบบองค์รวม ๒.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ทัศนะคติที่ดี ต่อกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินกิจกรรม/โครงการผลที่คาดว่าจะได้รับคือปัญหาสุขภาพเด็กอายุ๐-๕ปีได้รับการแก้ไขแบบองค์รวมโดยประเมินได้จากการมีภาวะโภชนาการที่ดีการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุพัฒนาการดีตามช่วงอายุและมีสุขภาพฟันที่ดีนอกจากนี้แล้วผู้ปกครองเด็กตลอดจนประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจได้รับการปรับเปลี่ยนทัศนะคติตลอดจนมีความเชื่อมั่นต่องานบริการของรพ.สต.อันจะนำเด็กในปกครองไปสู่การเป็นเด็กSmartKids


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผลการดำเนินงาน
    กิจกรรมที่ 1  จัดประชุมชี้แจงโครงการ               - จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ รพสต. และ อสม.ในพื้นที่  ตัวแทนกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน  ตัวแทน อบต.  จำนวนทั้งสิ้น  34  คน กิจกรรมที่2  อบรมการเสริมสร้างความรู้ปรับเปลี่ยนทัศนะคติและสร้างความเชื่อมั่นต่องานบริการ               -จัดอบรมให้ความรู้แก่  อสม.  หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองเด็กอายุ  0-5 ปี  ระยะเวลา  2  วัน  จำนวนทั้งสิ้น  55  คน    

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กแบบองค์รวม ๒.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ทัศนะคติที่ดี ต่อกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กอย่างมีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ๒.หญิงตั้งครรภ์ ๓.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ๔.เด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ๕.ตัวแทนกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ๖.ตัวแทน อบต. จำนวน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กแบบองค์รวม ๒.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ  ทัศนะคติที่ดี  ต่อกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กอย่างมีคุณภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร่วมมือ ร่วมใจ เด็กบ้านกลางสู่ Smart kids ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 008/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด