กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ”
ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2537-05-01 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2537-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,482.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั้งสิ้น 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จำนวน 582 ราย รวมมีผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน 67,088 ขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรคสำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันมากกว่า 40 ราย เสียชีวิต 1 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (วันที่ 2 มีนาคม 2563)
ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของ องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ
  2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์และเฝ้าระวังป้องกันโรค
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) และวิธีการทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองให้กับเครือข่ายสุขภาพและประชาชนทั่วไป ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
  2. ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์และเฝ้าระวังป้องกันโรค

วันที่ 2 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  3. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ
  5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงกา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปจำนวนเพศผู้เข้าร่วมโครงการเพศชาย 5 คน เพศหญิง 95 คน
  2. สรุปจำนวนและร้อยละอายุของผู้เข้าร่วมโครงการอายุ 15-25 ปี 13 คน 26-55 ปี 86 คน 56 ขึ้นไป 1 คน
  3. สรุปจำนวนและร้อยละระดับการศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการ ม.3 20 คน ม.6 31 คน ปวช./ปวส. 18 คน ปริญญาตรี 26 คน อื่น ๆ 5 คน
  4. สรุปจำนวนและร้อยละอาชีพของผู้เข้าร่วมโครงการ นักเรียน/นักศึกษา 4 คน รับจ้าง 22 คน ค้าขาย 43 คน ข้าราชการ 3 คน พนักงานรัฐวิสาหกิจ 8 คน ประกอบธุรกิจส่วนตัว 13 คน อื่น ๆ 3 คน
  5. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
    1. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านพิธีเปิดงานโดยรวม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 86.00
    2. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านสภาพทั่วไปของสถานที่ในการจัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 82.00
    3. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 79.00
    4. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การบริการของเจ้าหน้าที่มีความทั่วถึงและเป็นกันเอง อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 85.00
    5. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 89.00
    6. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ความเหมาะสมของวิทยากร อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 98.00
    7. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การเปิดโอกาสเด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 88.00ุ
  6. จุดแข็งของโครงการ     6.1 เป็นโครงการร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาครัฐ
    6.2 เป็นโครงการที่รับการสนับสนุนงบประมาณทั้งจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น
  7. จุดอ่อน/ปัญหา อุปสรรค ของโครงการ 7.1 การคำนวณปริมาณผ้าจากส่วนกลางกับการตัดเย้บจริงจะมีความต่างกัน 7.2 ความเร่งด่วนของโครงการทำให้เกิดการขาดตกบกพร่องในบางกิจกรรม ในการดำเนินงาน 7.3 การขาดความร่วมมือจากผู้ประกอบการในช่วงแรกของการดำเนินงาน
  8. งานที่ต้องดำเนินการต่อหลังจากการดำเนินโครงการ 8.1 สรุปผลการดำเนินโครงการ 8.2 ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ ขอคำแนะแนวทางแก้ไข เพื่อเป็นแนวทางการจัดโครงการในปีถัดไป

 

100 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) และวิธีการทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองให้กับเครือข่ายสุขภาพและประชาชนทั่วไป ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

วันที่ 17 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  3. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ
  5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปจำนวนเพศผู้เข้าร่วมโครงการเพศชาย 5 คน เพศหญิง 95 คน
  2. สรุปจำนวนและร้อยละอายุของผู้เข้าร่วมโครงการอายุ 15-25 ปี 13 คน 26-55 ปี 86 คน 56 ขึ้นไป 1 คน
  3. สรุปจำนวนและร้อยละระดับการศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการ ม.3 20 คน ม.6 31 คน ปวช./ปวส. 18 คน ปริญญาตรี 26 คน อื่น ๆ 5 คน
  4. สรุปจำนวนและร้อยละอาชีพของผู้เข้าร่วมโครงการ นักเรียน/นักศึกษา 4 คน รับจ้าง 22 คน ค้าขาย 43 คน ข้าราชการ 3 คน พนักงานรัฐวิสาหกิจ 8 คน ประกอบธุรกิจส่วนตัว 13 คน อื่น ๆ 3 คน
  5. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
    1. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านพิธีเปิดงานโดยรวม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 86.00
    2. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านสภาพทั่วไปของสถานที่ในการจัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 82.00
    3. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 79.00
    4. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การบริการของเจ้าหน้าที่มีความทั่วถึงและเป็นกันเอง อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 85.00
    5. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 89.00
    6. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ความเหมาะสมของวิทยากร อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 98.00
    7. พบว่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การเปิดโอกาสเด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ของระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 88.00 ุ6. จุดแข็งของโครงการ 6.1 เป็นโครงการร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาครัฐ
      6.2 เป็นโครงการที่รับการสนับสนุนงบประมาณทั้งจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น
  6. จุดอ่อน/ปัญหา อุปสรรค ของโครงการ 7.1 การคำนวณปริมาณผ้าจากส่วนกลางกับการตัดเย้บจริงจะมีความต่างกัน 7.2 ความเร่งด่วนของโครงการทำให้เกิดการขาดตกบกพร่องในบางกิจกรรม ในการดำเนินงาน 7.3 การขาดความร่วมมือจากผู้ประกอบการในช่วงแรกของการดำเนินงาน
  7. งานที่ต้องดำเนินการต่อหลังจากการดำเนินโครงการ 8.1 สรุปผลการดำเนินโครงการ 8.2 ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ ขอคำแนะแนวทางแก้ไข เพื่อเป็นแนวทางการจัดโครงการในปีถัดไป

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จุดแข็งของโครงการ 1.1 เป็นโครงการร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาครัฐ
    1.2 เป็นโครงการที่รับการสนับสนุนงบประมาณทั้งจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น
  2. จุดอ่อน/ปัญหา อุปสรรค ของโครงการ 2.1 การคำนวณปริมาณผ้าจากส่วนกลางกับการตัดเย้บจริงจะมีความต่างกัน 2.2 ความเร่งด่วนของโครงการทำให้เกิดการขาดตกบกพร่องในบางกิจกรรม ในการดำเนินงาน 2.3 การขาดความร่วมมือจากผู้ประกอบการในช่วงแรกของการดำเนินงาน
  3. งานที่ต้องดำเนินการต่อหลังจากการดำเนินโครงการ 3.1 สรุปผลการดำเนินโครงการ 3.2 ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ ขอคำแนะแนวทางแก้ไข เพื่อเป็นแนวทางการจัดโครงการในปีถัดไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ
ตัวชี้วัด : ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ร้อยละ90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 4
กลุ่มวัยทำงาน 100 96
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์และเฝ้าระวังป้องกันโรค (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)    และวิธีการทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองให้กับเครือข่ายสุขภาพและประชาชนทั่วไป ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2537-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด