โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฮัยฟา จาหลง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4131-3-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4131-3-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีจำนวนผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจำนวนผู้สูงอายุไทยจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 21 และร้อยละ 24 ของประชากรรวมในอีกสิบปีและสิบสี่ปีข้างหน้า ตามลำดับ และสังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (ข้อมูลจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2558) ซึ่งจากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุขพบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคมหรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตนเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ และอีกร้อยละ 21 (1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่า กลุ่มติดบ้านติดเตียงและต้องการการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคม
จากการสำรวจข้อมูลประชากรผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 1,049 คน ซึ่งได้ผ่านการคัดกรองและการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จำนวน 347 คน สามารถแยกเป็นผู้สูงอายุติดสังคม (คะแนน ADL = 12-20 คะแนน) จำนวน 333 คน คิดเป็นร้อยละ 95.96 ผู้สูงอายุติดบ้าน (คะแนน ADL = 5-11 คะแนน) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 3.17 และผู้สูงอายุติดเตียง (คะแนน ADL = 0-4 คะแนน) จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.86 (ข้อมูลจาก ฐานข้อมูลสุขภาพ HDC – Health data center จังหวัดยะลา)
องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงเรียบร้อยแล้วในปีงบประมาณ2562 องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องระยะยาว จึงได้จัดโครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงปีงบประมาณ2563 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
- . เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- การบริหารจัดการการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงและคณะทำงาน เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงและคณะทำงาน เกิดการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมมากยิ่งขึ้น
3. คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง เกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
วันที่ 8 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีป้ายศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
0
0
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
วันที่ 14 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีวัสดุ อุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงานเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
0
0
3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
วันที่ 6 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้
25
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
80.00
80.00
2
. เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
100.00
100.00
3
เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
80.00
ไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน (2) . เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (3) เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (2) การบริหารจัดการการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (3) ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (4) จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (5) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4131-3-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.ฮัยฟา จาหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฮัยฟา จาหลง
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4131-3-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4131-3-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีจำนวนผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจำนวนผู้สูงอายุไทยจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 21 และร้อยละ 24 ของประชากรรวมในอีกสิบปีและสิบสี่ปีข้างหน้า ตามลำดับ และสังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (ข้อมูลจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2558) ซึ่งจากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุขพบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคมหรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตนเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ และอีกร้อยละ 21 (1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่า กลุ่มติดบ้านติดเตียงและต้องการการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคม จากการสำรวจข้อมูลประชากรผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 1,049 คน ซึ่งได้ผ่านการคัดกรองและการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวงและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จำนวน 347 คน สามารถแยกเป็นผู้สูงอายุติดสังคม (คะแนน ADL = 12-20 คะแนน) จำนวน 333 คน คิดเป็นร้อยละ 95.96 ผู้สูงอายุติดบ้าน (คะแนน ADL = 5-11 คะแนน) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 3.17 และผู้สูงอายุติดเตียง (คะแนน ADL = 0-4 คะแนน) จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.86 (ข้อมูลจาก ฐานข้อมูลสุขภาพ HDC – Health data center จังหวัดยะลา) องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงเรียบร้อยแล้วในปีงบประมาณ2562 องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องระยะยาว จึงได้จัดโครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงปีงบประมาณ2563 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
- . เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- การบริหารจัดการการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงและคณะทำงาน เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงและคณะทำงาน เกิดการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมมากยิ่งขึ้น 3. คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง เกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง |
||
วันที่ 8 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีป้ายศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
|
0 | 0 |
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง |
||
วันที่ 14 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีวัสดุ อุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงานเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
|
0 | 0 |
3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง |
||
วันที่ 6 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้
|
25 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | . เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ตัวชี้วัด : ร้อยละของการบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละของการประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น |
80.00 | ไม่ได้ดำเนินการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการศูนย์ฯเข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯเข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน รวมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานของศูนย์ฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน (2) . เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (3) เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวงฝ่ายต่างๆและคณะทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (2) การบริหารจัดการการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (3) ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (4) จัดทำป้ายที่ทำการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (5) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4131-3-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.ฮัยฟา จาหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......