กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนร่วมใจ ป้องกันไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 63-L4131-1-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่
วันที่อนุมัติ 27 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 38,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.963,101.398place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จากสถิติข้อมูลที่ผ่านมา 5 ปีย้อนหลังตั้งแต่ปี พ.ศ.2558–พ.ศ. 2561 พบว่า ปี 2562 มีผู้ป่วยจำนวน 2 ราย 2 ราย 2 ราย 3 ราย 2 ราย ตามลำดับ ซึ่งมี โดยผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ พบในกลุ่มวัยทำงาน อีกทั้งมิได้ระบาดเฉพาะในช่วงฤดูฝนเท่านั้นจึงนับเป็นปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่สำคัญอย่างหนึ่งของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน วังใหม่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา     อำเภอเบตง มีสภาพเป็นป่าเขา อากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี จึงเหมาะต่อการระบาดของไข้เลือดออก โดยเฉพาะ พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง จะเห็นได้ว่า จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกยังคงขึ้นลง เพียงเล็กน้อยและไม่เกินตัวชี้วัดที่กำหนด แต่ก็ไม่ควรนิ่ง เฉย เพราะปกติแล้วในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง โรคไข้เลือดออกจะระบาดเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน ของทุกปี หากไม่มีการรณรงค์ป้องกัน และทำงานในเชิงรุกที่ดี  ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนัก พร้อมทั้งรู้จักควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมุ่งหวังให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง และอัตราป่วยไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงและอัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

0.00
2 ประชาชนมีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 1 38,000.00
1 เม.ย. 63 - 31 ส.ค. 63 พ่นหมอกควันเพื่อควบคุมโรค 0 0.00 38,000.00

1) ขั้นเตรียมการ      - ประชุมเจ้าหน้าที่เพื่อวางแผนการดำเนินการ      - วิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลัง      - เขียนและเสนอโครงการ    2) ขั้นดำเนินการ      - จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย    3) สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายลดลง
  • อัตราป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  • ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและเข้ามีส่วนร่วมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2563 15:02 น.