กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น


“ ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก ”

ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุนิตษา อินทา

ชื่อโครงการ ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5206-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5206-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,737.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 6 ปี พ.ศ.2549-2550 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี ฟันผุร้อยละ 61.4 ภาคใต้มีเด็กฟันผุร้อยละ 64.0 สำหรับจังหวัดสงขลาเด็กกลุ่มอายุ 3 ปี มีโรคฟันผุปี 2551-2555 เท่ากับร้อยละ 77.6,77.4,75.8,73.4 และ 69.2 ตามลำดับ พื้นที่อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา ในปี 2557-2559 พบว่าเด็กกลุ่มอายุ 18 เดือน ปราศจากฟันผุเท่ากับร้อยละ 93.33,97.27,94.8 ตามลำดับ และเด็ก 3 ปี ปราศจากฟันผุเท่ากับร้อยละ 49.66,56.1,56.8 ตามลำดับ ซึ่งจากการสำราจ ตำบลทุ่งขมิ้น เด็ก 3 ปี ปราศจากโรคฟันผุ 34.92,50.00,31.03 ตั้งแต่ปี 2557-2559 ตามลำดับ ซึ่งนับว่าสูงเมื่อเทียบกับระดับภาคและประเทศ จากข้อมูลการตรวจสุขภาพฟันเด็ก ปี 2559 พบว่าเด็กอายุ 18 เดือนใช้ขวดนมร้อยละ 100 กินขนมร้อยละ 100 แปรางฟันก่อนนอนร้อยละ 78.6 ฟันผุร้อยละ 14.3 ในเด็ก 3 ปี เด็กที่แปรงฟันตอนเช้าร้อยละ 92.33 เด็กที่มีฟันสะอาดร้อยละ 83.4 ฟันผุร้อยละ 43.2 จะเห็นได้ว่าโรคฟันผุและช่องปากไม่สะอาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น สภาพปัญหาโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองไม่มีความรู้และไม่ตระหนักถึงความสำคัญของฟันน้ำนม เด็กจึงไม่ได้รับการดูแลสุสขภาพช่องปากให้ดีเท่าที่ควร เด็กไม่ได้รับการทำความสะอาดช่องปากก่อนนอน ผู้ปกครองไม่ทราบวิธีและไม่มีทักษะในการทำความสะอาดช่องปากให้เด็ก อีกทั้งเด็กยังมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม อาทิเช่น นอนหลับคาขวดนม กินขนมหวาน อมข้าว รวมทั้งให้กินขนมระหว่างมื้อมากกว่าวันละ 2 ครั้ง และขาดการทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างเหมาะสม ฟันน้ำนมมีความสำคัญอย่างยิ่ง ช่วยในการบดเคี้ยวอาหารเพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและส่งผลต่อพัฒนาการด้านอื่นๆ อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นการเจิญเติบโตของใบหน้าและขากรรไกร ช่วยในการออกเสียงพูดให้ชัดเจน ช่วยในการรักษาที่ว่างไว้ให้ฟันแท้ขึ้นตรงตำแหน่ง อีกทั้งการที่เด็กมีฟันผุตั้งแต่อายุยังน้อยการให้การรักษาย่อมทำได้ยาก เนื่องจากเด็กไม่ให้ความร่วมมือ และค่าใช้จ่ายในการรักษาย่อมสูงกว่าการป้องกัน จึงนับว่าเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณในการให้บริการโดยไม่จำเป็น ดังนั้นการให้ความรู้และเสริมทักษะแก่ผู้เลี้ยงดูเพื่อให้เริ่มแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่เริ่มขึ้นจึงเป็นเรื่องจำเป็น จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ปัญหาฟันนำ้นมผุในเด็กเล็กมีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กของผู้เลี้ยงดูเด็กโดยตรง เพื่อแก้ไขปัญหาฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก โครงการนี้จึงมุ่งที่จะให้ความรู้แก่ผู้เลี้ยงดูเด็กถึงวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กที่ไม่เหมาะสม คือ การให้เด็กกินนมหวาน ให้ดูดนมมื้อดึกเมื่ออายุมากกว่า 6 เดือน ให้เด็กเลิกขวดนมช้า รวมทั้งให้กินขนมระหว่างมื้อมากกว่าวันละ 2 ครั้ง (กินจุบจิบ) และขาดการทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างเหมาะสม ซึ่งโครงการนี้ทำควบคู่กับการให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชให้กับเด็กในกลุ่ม 3-5 ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติต่อความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการดูสุขภาพช่องปาก
  3. 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก
  4. 4.พื่อลดการเกิดฟันผุในเด็ก 3-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 41
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ช่วยกระตุ้นให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก 3-5 ปี ตื่นตัวในการดูแลทันตสุขภาพทั้งของตนเองและของบุตรหลาน ทั้งในด้านการป้องกันและรักษา ทำให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุข 2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ถึงพฤติกรรมสุขภาพ สามารถบริหารจัดการการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพช่องปาก 3.เด็ก 3 ปี มีฟันผุลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติต่อความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1.มากกว่าร้อยละ 70 ของเด็กที่เข้าร่วมโครงการมีช่องปากสะอาด

     

    2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการดูสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.พื่อลดการเกิดฟันผุในเด็ก 3-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 3-5 ปีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลทุ่งขมิ้นปราศจากฟันผุมากกว่าร้อยละ 50

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 41
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 41
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติต่อความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการดูสุขภาพช่องปาก (3) 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก (4) 4.พื่อลดการเกิดฟันผุในเด็ก 3-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ฟันสวยด้วยมือแม่ใน ศพด.บ้านนาทองสุก จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5206-3-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุนิตษา อินทา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด