กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำมัดสุกรี มูฮามา

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8302-2-13 เลขที่ข้อตกลง .12../2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8302-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดในกลุ่มเยาวชนเป็นปัญหาต้นๆ คือ ปัญหาภัยของยาเสพติด โดยเฉพาะพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลมะรือโบตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของยาเสพติดค่อนข้างที่จะรุนแรงเยาวชนที่มีอายุประมาน 8-25 ปี ตกเป็นเหยื่อของยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 85 ปัญหาดังกล่าวได้รับผลกระทบเป็นวงกว้างต่อคนทั่วไปในพื้นที่ ซึ่งมีทั้ง ด้านร่างกาย ชีวิตและทรัพย์สิน จากสถิติพบว่าเด็กและเยาวชนที่เข้าไป เกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง และง่ายต่อการเข้าถึง ในการนี้ ทางกลุ่มจิตอาสารักษ์มะรือโบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญต่อปัญหาดังกล่าว จึงได้โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัยยาเสพติดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตลอดจนสามารถสร้างสังคมที่น่าอยู่ และปลอดอบายมุขตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
  2. เพื่อลดจำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่ายสภาเยาวชนฮาปา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ทำให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ปลอดสารยาเสพติด สู่สุขภาพ ทางกาย จิตใจที่ดี   พร้อมนำหลักการของศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวันสู่สังคมสันติ
-ทำให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เข้าใจโทษของยาเสพติด และรู้จักการป้องกันตนเอง   และสามารถแนะนำผู้อื่นไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น -เพื่อรณรงค์ สร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ร่วมมือกันหันมาเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ   ห่างไกลจากยาเสพติดที่ให้โทษ สร้างความสมัคสมาน สามัคคี และมีความรักความปรองดองระหว่างกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่ายสภาเยาวชนฮาปา

วันที่ 18 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเรียนรู้ตามฐานต่างๆ วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและโทษของยาเสพติด 18-19 กรกฎาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางกลุ่มได้ทำหนังสือขอขยายระเวลาการดำเนินงานมา และสามารถทำกิจกรรมในเดือนนี้ได้ จากสถานการณ์โควิด ทำให้เด็กไม่มีกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆ ซึ่งทางพี่เยาวชนชุมชนฮาปาได้จัดกิจกรรมนี้ขึ้นมา ทางน้องๆเยาวชนฮาปา มีกิจกรรมที่ร่วมกัน มีการเรียนรู้ตามฐานต่างๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
ตัวชี้วัด : จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อยลดลงเหลือ(ครั้ง)
10.00

 

2 เพื่อลดจำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม
ตัวชี้วัด : จำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุมลดลงเหลือ(แห่ง)
3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย (2) เพื่อลดจำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่ายสภาเยาวชนฮาปา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้เท่าทันพิษภัย ยาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8302-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮำมัดสุกรี มูฮามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด