กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายบัญญัติ หัสมา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19)

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2563 ถึง 1 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2563 - 1 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,432.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี ๒๕๔๕ ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ๗ ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ข้อมูลตั้งแต่วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๒ – วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั่วโลกจากทั้งหมด ๒๗ ประเทศ และ ๒ เขตบริหารพิเศษ จำนวนทั้งสิ้น ๖๙,๒๘๔ ราย เสียชีวิต ๑,๖๗๐ ราย และมีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีนแต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค ในประเทศไทย ณ วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวังทั้งสิ้น ๘๓๗ ราย พบผู้ป่วยติดเชื้อยังคงรับไว้ในโรงพยาบาล ๑๓๔ ราย อนุญาตให้กลับบ้านแล้ว ๖๙๒ ราย และอยู่ระหว่างสังเกตอาการที่แผนกผู้ป่วยนอกและที่บ้าน ๑๑ ราย เป็นผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันสะสม ๓๔ ราย
(หายป่วยและแพทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาล ๑๕ ราย อยู่ระหว่างการรักษาพยาบาล ๑๙ ราย และเป็นผู้ป่วยที่มีอาการุนแรง ๒ ราย) เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามทุกคนสามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการการความร่วมมือจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรค“กิจกรรมการให้ความรู้วิธีการป้องกัน รับมือ ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ โดยมุ่งหวังว่าทุกครัวเรือนสามารถจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองและสมาชิกในครัวเรือนมีหน้ากากอนามัยไว้ป้องกันโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากคนเอง จากโรคไวรัสโคโรน่า (COVID 29) ได้
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือนได้
  3. 3. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดการตระตุ้นให้ตระหนักถึงความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID 29)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีการป้องกันรับมือไวรัสโคโรนา (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองจากโรคไวรัส  โคโรนา 19 (COVID-19) ได้       2. ประชาชนมีทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน
  2. ชุมชนเกิดการกระตุ้นให้บุคคลในที่ตระหนักถึงความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เนื่่องจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กำลังเป็นที่ระบาดอยู่ในขณะนี้ จึงจำเป็นต้องเร่งดำเนินการเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รู้จักถึงวิธีการป้องกันตนเองและคนใกล้ชิด เพื่อให้ห่างไกลไกลจากโรคดังกล่าว ซึ่ง จากการดำเนินโครงการ พบว่า ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกียวกับ โรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) มากขึ้น ทั้งในเรื่องของการการป้องกันตนเอง อาการของโรค การปฏิบัติตนเมื่อสงสัยว่าสัมพัสกับผู้ป่วยที่เป็นโรคไวรัสโคโรนา 2019 รวมทั้งการจัดทำหน้ากากอนามัยแบบผ้าเพื่อไว้ใชเองในครัวเรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากคนเอง จากโรคไวรัสโคโรน่า (COVID 29) ได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนร้อยละ 80 มีความรู้ในการดูแลตนเองจากโรคระบาดไวรัสโคโรน่า (COVID 29)
0.00 0.00

ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 มากขึ้น รู้ถึงวิธีการดูแลตนเองและป้องกันตนเองมากขึ้น

2 2. เพื่อให้ประชาชนมีทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือนได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนร้อยละ 80 สามารถทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน
0.00

เนื่องจากการดำนินโครงการมีกิจกรรมการจัดทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถที่จะทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้ในครัวเรือนได้

3 3. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดการตระตุ้นให้ตระหนักถึงความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID 29)
ตัวชี้วัด : คนในชุมชนร้อยละ 80 เกิดความตระหนัก และป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID 29)
0.00

ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าแพมีความตระหนักถึงความสำคัญและร่วมมือ ร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากคนเอง จากโรคไวรัสโคโรน่า (COVID 29) ได้ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือนได้ (3) 3. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดการตระตุ้นให้ตระหนักถึงความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID 29)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีการป้องกันรับมือไวรัสโคโรนา (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบัญญัติ หัสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด