โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนงนภัส คงวิทยา ประธานชมรมเต้นแอโรบิค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-2-31 เลขที่ข้อตกลง 31/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-2-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่คนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวลงได้ และชมรมเต้นแอโรบิค บ้านปากแคลง มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริม สนับสนุนและดำเนินการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี ให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ทั้งทางร่างกายและจิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา
การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกาย สร้างสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดี ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์จากการออกกำลังกาย และได้หันมาออกกำลังกายมากขึ้นอันสืบเนื่องมาจากโครงการ เต้นแอโรบิค บ้านปากแคลง ๒ ปีที่ผ่านมา ทางชมรมมีความต้องการที่จะต่อยอดการออกกำลังกายของคนในชุมชน และใกล้เคียงต่อไป
กลุ่มแอโรบิคบ้านปากแคลง ได้ขอเสนอเพื่อจัดทำโครงการเต้นแอโรบิคบ้านปากแคลงขึ้นในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ครั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค นอกจากนี้ยังเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยการให้มีการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆ โดยกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการออกกำลังกายและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายส่งผลทำให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างความสามัคคี ที่สำคัญการออกกำลังกายยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค
- ๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ
- ๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจดี ลดภาวะเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
๒. ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
๓. ก่อให้เกิดความสามัคคีในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค
ตัวชี้วัด :
0.00
2
๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ
ตัวชี้วัด :
0.00
3
๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค (2) ๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ (3) ๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-2-31
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนงนภัส คงวิทยา ประธานชมรมเต้นแอโรบิค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนงนภัส คงวิทยา ประธานชมรมเต้นแอโรบิค
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-2-31 เลขที่ข้อตกลง 31/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-2-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่คนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวลงได้ และชมรมเต้นแอโรบิค บ้านปากแคลง มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริม สนับสนุนและดำเนินการด้านสุขภาพให้กับประชาชนในชุมชนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี ให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ทั้งทางร่างกายและจิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา
การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกาย สร้างสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดี ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์จากการออกกำลังกาย และได้หันมาออกกำลังกายมากขึ้นอันสืบเนื่องมาจากโครงการ เต้นแอโรบิค บ้านปากแคลง ๒ ปีที่ผ่านมา ทางชมรมมีความต้องการที่จะต่อยอดการออกกำลังกายของคนในชุมชน และใกล้เคียงต่อไป
กลุ่มแอโรบิคบ้านปากแคลง ได้ขอเสนอเพื่อจัดทำโครงการเต้นแอโรบิคบ้านปากแคลงขึ้นในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ครั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค นอกจากนี้ยังเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยการให้มีการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆ โดยกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการออกกำลังกายและเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายส่งผลทำให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างความสามัคคี ที่สำคัญการออกกำลังกายยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค
- ๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ
- ๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจดี ลดภาวะเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
๒. ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
๓. ก่อให้เกิดความสามัคคีในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | ๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | ๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของประชาชนโดยการ ออกกำลังกายเต้นแอโรบิค (2) ๒.เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิด โรคต่างๆ (3) ๓.เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-2-31
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนงนภัส คงวิทยา ประธานชมรมเต้นแอโรบิค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......