โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางพัลลภา ลายแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ที่อยู่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2520-1-3 เลขที่ข้อตกลง 4/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2520-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ. 2546 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ),2548) พบว่า อันตรายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ),2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การักษาผู้ที่มีความผิดปกติของมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอันตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลุกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ Pap smear หรือ VIA (Visual inspection of cervix with Acetic acid) ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบ ค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ในสตรีไทย อายุ 30-60 ปี กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปีงบประมาณ 2563-2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปี 2558-2562 ของ รพ.สต. บ้านควนกาแม พบว่าสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก รพ.สต.บ้านควนกาแม ร้อยละ 64.4 ส่งผลให้มีการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองแบบต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการรวมเจ้าหน้าที่ในต่างพื้นที่เข้ามาทำงานร่วมกัน การสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมายการส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำและส่งเริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำและกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ผลการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ดูรูปแบบการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมที่สุดตอไป รพ.สต.บ้านควนกาแม จึงได้จัดทำโครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนกาแม ปี 2563
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง
- เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง
- กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 40 ภายในงบประมาณปี 2563
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30-70 ปีขึ้นไป ได้ตรวจคักรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ทำการติดป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการสตรีใสใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับโรคมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจมะเร็งเต้านมขั้นพื้นฐานได้
150
0
2. อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรู้และความสำคัญของมะเร็งเต้านมให้แก่กลุ่มสตรีที่เข้ารับการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มสตรีมีความรู้ความเข้าใจและความสำคัญของมะเร็งเต้านมและสามารถที่จะตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองด้
150
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรีมีความรู้ถึงโรคมะเร็ง กล้าที่จะแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องอาย
100.00
2
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : สตรีสามารถตรวจมะเร็งด้วยตนเอง
100.00
3
เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มสตรีสามารถตรวจคัดกรองความผิดปกติ
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง (3) เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง (2) กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2520-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพัลลภา ลายแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางพัลลภา ลายแก้ว
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2520-1-3 เลขที่ข้อตกลง 4/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2520-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ. 2546 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ),2548) พบว่า อันตรายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ),2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การักษาผู้ที่มีความผิดปกติของมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอันตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลุกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ Pap smear หรือ VIA (Visual inspection of cervix with Acetic acid) ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบ ค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ในสตรีไทย อายุ 30-60 ปี กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปีงบประมาณ 2563-2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปี 2558-2562 ของ รพ.สต. บ้านควนกาแม พบว่าสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก รพ.สต.บ้านควนกาแม ร้อยละ 64.4 ส่งผลให้มีการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองแบบต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการรวมเจ้าหน้าที่ในต่างพื้นที่เข้ามาทำงานร่วมกัน การสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมายการส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำและส่งเริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำและกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ผลการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ดูรูปแบบการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมที่สุดตอไป รพ.สต.บ้านควนกาแม จึงได้จัดทำโครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนกาแม ปี 2563
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง
- เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง
- กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 40 ภายในงบประมาณปี 2563
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30-70 ปีขึ้นไป ได้ตรวจคักรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำทำการติดป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการสตรีใสใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับโรคมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจมะเร็งเต้านมขั้นพื้นฐานได้
|
150 | 0 |
2. อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง |
||
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรู้และความสำคัญของมะเร็งเต้านมให้แก่กลุ่มสตรีที่เข้ารับการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มสตรีมีความรู้ความเข้าใจและความสำคัญของมะเร็งเต้านมและสามารถที่จะตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองด้
|
150 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : สตรีมีความรู้ถึงโรคมะเร็ง กล้าที่จะแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องอาย |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : สตรีสามารถตรวจมะเร็งด้วยตนเอง |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มสตรีสามารถตรวจคัดกรองความผิดปกติ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การตรวจมะเร็งปากมดลูกและและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ปี/ครั้ง และตรวจมะเร็งเต้านมเดือนละ 1 ครั้ง ด้วยตนเอง (3) เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ 30-60 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมกิจกรรมการให้ความรู้และความสำคัญของมะเร็ง (2) กิจกรรมวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2520-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพัลลภา ลายแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......