กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L2520-1-9
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านยะหอ
วันที่อนุมัติ 13 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 32,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะนาเซ นาปี
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลรอฮิม มะดาโอ๊ะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.892,101.82place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานสุรา , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นโรคที่เกิดขึ้นทุกปี และเป็นโรคติดต่อที่เรียกกันว่า โรคประจำถิ่นที่มีผลกระทบต่อประชาชน เช่น โรคอุจจาระร่วง ตาแดง ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ หัด ชิคุนกุนยา มือ เท้า ปาก มีการแพร่ระบาดที่รวดเร็ว    ถ้าประชาชนไม่มีความรู้ ในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าว ในปี 256๒ โรคประจำถิ่น จะมีแนวโน้มของการเกิดโรคเพิ่มขึ้น จึงเน้นการดำเนินการ ในรูปแบบบูรณาการ เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน โรงเรียน หน่วยงานของรัฐ อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคีเครือข่ายให้ตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคดังกล่าว
      ในการนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านยะหอ จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้การควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังการระบาดของโรคประจำถิ่น มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพภาพมากขึ้น โดยชุมชนมีส่วนร่วม จึงได้เสนอเพื่อจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยของโรคติดต่อในพื้นที่

อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา

100.00
2 เพื่อให้ชุมชน อบต. โรงเรียนหน่วยงานต่างๆภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีการดำเนินงานแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคติดต่อในพื้นที่โดยการรณรงค์ในหมู่บ้าน

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อลดอัตราป่วยของโรคติดต่อในพื้นที่

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ชุมชน อบต. โรงเรียนหน่วยงานต่างๆภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีการดำเนินงานแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

7 - 8 ส.ค. 63 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย อสม. ประชาชนทั่วไป ครูและแกนนำนักเรียน 150.00 25,600.00 -
9 ก.ย. 63 กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน 150.00 7,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. นำเสนอแผนงานต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ดง
  2. จัดทำโครงการ เสนอต่อประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ดง
  3. ประสานงาน วิทยากร ผู้อำนวยการโรงเรียน และผู้นำชุมชนในพื้นที่
  4. กำหนดวันและเวลาที่จะดำเนินการ
  5. ดำเนินการตามโครงการที่วางไว้ ร่วมกับหน่วยงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง 6.สรุปผลการดำเนินโครงการ กลวิธี จัดอบรมให้ความรู้แกนนำหมู่บ้าน แกนนำสุขภาพ
    จัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ เพื่อทำการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่
  6. ขั้นเตรียมการ 1.1 รวบรวมข้อมูลสุขภาพโรคติดต่อในพื้นที่ 1.2 นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมต่อบริบทพื้นที่
    1.3 จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 1.4 ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายและ อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ และผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ส่วนราชการและองค์กรต่าง ๆ รวมทั้งวิทยากรในการให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย 1.5 กำหนดวันเวลาที่จะดำเนินโครงการ
  7. ขั้นดำเนินการ 2.1 เตรียมอุปกรณ์ในการเตรียมพื้นที่จัดอบรม
    2.2 ประชาสัมพันธ์แจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเตรียมตัวเข้ารับการอบรม   2.3 ดำเนินการให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในพื้นที่ รวมถึงวิธีป้องกันโรค   2.4 จัดทำป้ายความรู้ เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ในพื้นที่   2.5 จัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ เพื่อทำการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ ให้ความรู้ตามบ้าน
  8. ขั้นหลังดำเนินการ 3.1 ให้ทุกหลังคาเรือนมีการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ เพราะลดการระบาดต่อไป
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ และนำความรู้ไปปฏิบัติได้
  2. ชุมชนมีส่วนร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่อย่างยั่งยืน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2563 16:21 น.